หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

ชื่อหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) Bachelor of Science Program in Food Technology
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ไทย) วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีอาหาร)
ชื่อย่อ (ไทย) วท.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์)
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) Bachelor of Science (Food Technology)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) B.Sc. (Food Technology)
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
  1. นักวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีทางอาหารในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งรับผิดชอบด้านการวางแผนการผลิต การควบคุมการผลิต การควบคุมและประกันคุณภาพ การสุขาภิบาลและความปลอดภัยของอาหาร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการวิเคราะห์คุณภาพอาหาร
  2. นักวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีทางอาหารในองค์กรของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์คุณภาพอาหาร การกำหนดมาตรฐานอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
  3. ผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร/อาชีพอิสระ
ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs)
ปรัชญาของหลักสูตร มุ่งเน้นการผลิตบุคลากรให้เป็นนักเทคโนโลยีอาหารที่มีความรู้พื้นฐานและมีทักษะด้านวิชาชีพที่สามารถปฏิบัติงานได้ และมีทักษะมนุษย์ที่มีความคิดเชิงวิพากษ์ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อรองรับการพัฒนาเทคโนโลยีและการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
  1. ผลิตบัณฑิตที่มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอาหารแบบสากล สามารถปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมอาหารหรือองค์กรของรัฐ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ และสามารถเป็นผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อจัดจาหน่ายในประเทศและส่งออกต่างประเทศ
  2. ผลิตบัณฑิตที่สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ไขปัญหา และเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับองค์กร
  3. ผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทางพฤติกรรม คือ มีความคิดเชิงวิพากษ์ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และมีความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรม ในวิชาชีพและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) PLO1 สามารถอธิบายความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารได้
PLO2 สามารถระบุปัญหาและแสดงวิธีการวิเคราะห์ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารได้
PLO3 สามารถแสดงวิธีการออกแบบ ดำเนินการ และพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้
PLO4 สามารถแสดงทักษะการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารได้
PLO5 สามารถแสดงถึงความเข้าใจและความตระหนักต่อการเรียนรู้ตลอดชีพได้
PLO6 สามารถทำงานร่วมกันเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิผล มีความเป็นผู้นำ จนทำให้บรรลุความสำเร็จได้
PLO7 สามารถติดต่อสื่อสารและนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพในงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
เว็บไซต์สาขาวิชา https://iat.sut.ac.th/foodtech

จำนวนหน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

แบบเอก (เทคโนโลยีอาหาร)

165 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า
38 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป
15 หน่วยกิต
1.2) กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ
15 หน่วยกิต
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก
8 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า
110 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
  42 หน่วยกิต
2.2) กลุ่มบังคับวิชาชีพเทคโนโลยีอาหาร
 60 หน่วยกิต
2.3) กลุ่มการวิจัย
  5 หน่วยกิต
2.4) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์
  6 หน่วยกิต
2.5) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพ
  3 หน่วยกิต
3) หมวดประสบการณ์ภาคสนาม
  9 หน่วยกิต
4) หมวดวิชาเลือกเสรี
  8 หน่วยกิต

รายวิชา แบบเอก (เทคโนโลยีอาหาร)

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป 15 หน่วยกิต
IST20 1001 การรู้ดิจิทัล
(Digital Literacy)
2(2-0-4)
IST20 1002 การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการเรียนรู้
(Use of Application Programs for Learning)
1(0-2-1)
IST20 1003 ทักษะชีวิต
(Life Skills)
3(3-0-6)
IST20 1004 ความเป็นพลเมืองและพลเมืองโลก
(Citizenship and Global Citizens)
3(3-0-6)
IST20 2001 มนุษย์กับสังคมและสิ่งแวดล้อม
(Man, Society and Environment)
3(3-0-6)
IST20 2002 มนุษย์กับเศรษฐกิจและการพัฒนา
(Man, Economy and Development)
3(3-0-6)
1.2) กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 15 หน่วยกิต
IST30 1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
(English for Communication 1)
3(3-0-6)
IST30 1102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
(English for Communication 2)
3(3-0-6)
IST30 1103 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการ
(English for Academic Purposes)
(3-0-6)
IST30 1104 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
(English for Specific Purposes)
3(3-0-6)
IST30 1105 ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน
(English for Careers)
3(3-0-6)
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก
ให้ผู้เรียนเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้
8 หน่วยกิต
IST20 1501 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
(Thai for Communication)
2(2-0-4)
IST20 1502 ศิลปวิจักษ์
(Art Appreciation)
2(2-0-4)
IST20 1503 สุขภาพองค์รวม
(Holistic Health)
2(2-0-4)
IST20 1504 กฎหมายในชีวิตประจำวัน
(Law in Daily Life)
2(2-0-4)
IST20 2501 พันธกิจสัมพันธ์ชุมชนกับกลุ่มอาชีพ
(Professional and Community Engagement)
2(1-2-3)
IST20 2502 ไทยศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
(Pluri-Cultural Thai Studies)
2(2-0-4)
IST20 2503 อาเซียนศึกษา
(ASEAN Studies)
2(2-0-4)
IST20 2504 การคิดเชิงออกแบบ
(Design Thinking)
2(2-0-4)
IST20 2505 ฮักเจ้าของ
(Love Yourself)
2(2-0-4)
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 110 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 42 หน่วยกิต
SCI02 1105 เคมีอินทรีย์
(Organic Chemistry)
3(3-0-6)
SCI02 1106 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
(Organic Chemistry Laboratory)
1(0-3-0)
SCI02 1111 เคมีพื้นฐาน 1
(Fundamental Chemistry I)
4(4-0-8)
SCI02 1112 ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1
(Fundamental Chemistry Laboratory I)
1(0-3-0)
SCI02 2202 เคมีเชิงฟิสิกส์
(Physical Chemistry)
3(3-0-6)
SCI02 2214 เคมีปริมาณวิเคราะห์
(Quantitative Chemical Analysis)
3(3-0-6)
SCI02 2215 ปฏิบัติการเคมีปริมาณวิเคราะห์
(Quantitative Chemical Analysis Laboratory)
1(0-3-0)
SCI03 1001 แคลคูลัส 1
(Calculus I)
4(4-0-8)
SCI04 1001 หลักชีววิทยา 1
(Principles of Biology I)
4(4-0-8)
SCI04 1002 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 1
(Principles of Biology Laboratory I)
1(0-3-0)
SCI05 1003 ฟิสิกส์ทั่วไป
(General Physics)
4(4-0-8)
SCI05 1193 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป
(General Physics Laboratory)
1(0-3-0)
SCI08 2001 จุลชีววิทยา
(Microbiology)
4(4-0-8)
SCI08 2002 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา
(Microbiology Laboratory)
1(0-3-0)
SCI08 2201 ชีวเคมี
(Biochemistry)
4(4-0-8)
SCI09 2204 ปฏิบัติการชีวเคมี
(Biochemistry Laboratory)
1(0-3-0)
IAT31 1001 ปฐมนิเทศแรงบันดาลใจและนวัตกรรมการเกษตร
(Introduction to Agricultural Inspiration and Innovation)
1(1-0-2)
IAT31 1002 การเขียนเชิงวิชาการ
(Academic Writing)
1(0-3-2)
2.2) กลุ่มบังคับวิชาชีพเทคโนโลยีอาหาร 60 หน่วยกิต
ชุดวิชาจุลชีววิทยาและความปลอดภัยทางอาหาร 8(7-3-14)
IAT35 2101 จุลชีววิทยาทางอาหาร
(Food Microbiology)
4(4-0-8)
IAT35 2102 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและความปลอดภัยทางอาหาร
(Food Microbiology and Food Safety Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 2103 ความปลอดภัยทางอาหาร
(Food Safety)
1(1-0-2)
IAT35 2104 สุขาภิบาลและการจัดการสภาพแวดล้อมโรงงานอาหาร
(Food Plant Sanitation and Environment Management)
2(2-0-4)
ชุดวิชาเคมีและชีวเคมีทางอาหาร 8(7-3-14)
IAT35 2201 เคมีอาหาร
Food Chemistry
4(4-0-8)
IAT35 2202 ปฏิบัติการเคมีอาหาร
(Food Chemistry Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 2203 ชีวเคมีทางอาหาร
Food Biochemistry
3(3-0-6)
ชุดวิชาโภชนาการและการวิเคราะห์อาหาร 8(6-6-16)
IAT35 3301 อาหารและโภชนาการ
(Food and Nutrition)
4(4-0-8)
IAT35 3302 การวิเคราะห์อาหาร
(Food Analysis)
4(2-6-8)
ชุดวิชาโภชนาการและการวิเคราะห์อาหาร 8(6-6-16)
IAT35 3401 การแปรรูปอาหาร
(Food Processing)
3(3-0-6)
IAT35 3402 หลักการพื้นฐานทางวิศวกรรมอาหาร
(Fundamental of Food Engineering)
4(4-0-8)
IAT35 3403 ปฏิบัติการแปรรูปอาหาร
(Food Processing Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 3404 การแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร 1
(Food Processing and Engineering 1)
3(3-0-6)
IAT35 3405 การแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร 2
(Food Processing and Engineering 2)
3(3-0-6)
IAT35 3406 ปฏิบัติการแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร
(Food Processing and Engineering Laboratory)
2(0-6-0)
ชุดวิชาควบคุมคุณภาพ ประกันคุณภาพ และสถิติ 12(10-6-16)
IAT35 3501 การควบคุมคุณภาพอาหาร
(Food Quality Control)
4(3-3-4)
IAT35 3502 สถิติสำหรับเทคโนโลยีอาหาร
(Statistics for Food Technology)
4(3-3-4)
IAT35 3503 ระบบประกันคุณภาพพื้นฐานและมาตรฐานสากลในอุตสาหกรรมอาหาร
(Basic Quality Assurance System and International Standards in Food Industry)
4(4-0-8)
ชุดวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์และกฎหมายอาหาร 8(5-9-10)
IAT35 4601 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการตลาด 1
(Food Product Development and Marketing I)
4(3-3-6)
IAT35 4602 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการตลาด 2
(Food Product Development and Marketing II)
2(0-6-0)
IAT35 4603 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร
(Food Law and Standards)
2(2-0-4)
2.3) กลุ่มการวิจัย   5 หน่วยกิต
ชุดวิชาบูรณาการโครงงานและเทคโนโลยีอาหาร 5(X-X-X)
IAT35 4701 สัมมนา
(Seminar)
2(2-0-4)
IAT35 4702 โครงงานเทคโนโลยีอาหาร
(Food Technology Project)
3(0-9-0)
2.4) กลุ่มวิชาเลือกของวิชาชีพ   3 หน่วยกิต
เลือกเรียนวิชาเลือกของสาขาวิชาไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
IAT35 4703 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม
(Dairy Product Technology)
4(3-3-4)
IAT35 4704 การประเมินทางประสาทสัมผัสของอาหาร
(Sensory Evaluation of Foods)
3(2-3-4)
IAT35 4705 เทคโนโลยีการทำแห้งผลิตผลทางการเกษตร
(Drying Technology for Agricultural Products)
4(2-6-4)
IAT35 4706 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ขนมอบ
(Bakery Product Technology)
3(1-6-2)
IAT35 4707 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ธัญพืชและพืชตระกูลถั่ว
(Cereal and Legume Product Technology)
4(2-6-4)
IAT35 4708 อาหารและโภชนบำบัด
(Food and Diet Therapy)
3(2-3-4)
IAT35 4709 พฤกษเคมีในอาหารฟังก์ชัน
(Phytochemical in Functional Foods)
4(2-6-8)
IAT35 4710 สารก่อมะเร็งในอาหาร
(Carcinogens in Food)
4(3-3-6)
IAT35 4711 อาหารสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและวัยชรา
(Food for Non-communicable Diseases and Aging)
IAT35 4712 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อและสัตว์ปีก
(Meat and Poultry Product Technology)
4(2-6-4)
IAT35 4713 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง
(Fishery Product Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4714 เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร
(Food Enzyme Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4715 เทคโนโลยีการหมักดองอาหาร
(Food Fermentation Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4716 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้
(Fruit and Vegetable Product Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4717 ระบบประกันคุณภาพมาตรฐานส่งออกในอุตสาหกรรมอาหาร
(Quality Assurance for Export in Food Industry)
3(3-0-6)
3) หมวดประสบการณ์ภาคสนาม 9 หน่วยกิต
IAT35 4801 เตรียมสหกิจศึกษา
(Pre-cooperative Education)
1(1-0-3)
IAT35 4802 สหกิจศึกษา 1
(Cooperative Education I)
8 หน่วยกิต
IAT35 4803 สหกิจศึกษา 2
(Cooperative Education II)
8 หน่วยกิต
IAT35 4804 สหกิจศึกษา 3
(Cooperative Education III)
8 หน่วยกิต
ชุดวิชาทดแทนสหกิจศึกษา 9 หน่วยกิต
IAT35 4805 โครงงานสหกิจศึกษา 1
(Cooperative Project I)
9 หน่วยกิต
IAT35 4806 โครงงานสหกิจศึกษา 2
(Cooperative Project II)
9 หน่วยกิต
IAT35 4807 โครงงานสหกิจศึกษา 3
(Cooperative Project III)
9 หน่วยกิต
4) หมวดวิชาเลือกเสรี 8 หน่วยกิต
เลือกเรียนวิชาใด ๆ ก็ได้ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

แบบเอก - โท (เทคโนโลยีอาหาร - โทผู้ประกอบการ)

165 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า
38 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป
15 หน่วยกิต
1.2) กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ
15 หน่วยกิต
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก
8 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า
110 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ
  42 หน่วยกิต
2.2) กลุ่มบังคับวิชาชีพเทคโนโลยีอาหาร
 60 หน่วยกิต
2.3) กลุ่มการวิจัย
  5 หน่วยกิต
2.4) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์
  6 หน่วยกิต
2.5) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพ
  3 หน่วยกิต
3) หมวดประสบการณ์ภาคสนาม
  9 หน่วยกิต
4) หมวดวิชาเลือกเสรี
  8 หน่วยกิต
5) หมวดวิชาบังคับ-เลือกสำหรับวิชาโทความเป็นผู้ประกอบการ
  8 หน่วยกิต
5.1) กลุ่มวิชาบังคับ
  8 หน่วยกิต
5.2) กลุ่มวิชาเลือก
  4 หน่วยกิต

รายวิชา แบบเอก - โท (เอกเทคโนโลยีอาหาร - โทผู้ประกอบการ)

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป 15 หน่วยกิต
IST20 1001 การรู้ดิจิทัล
(Digital Literacy)
2(2-0-4)
IST20 1002 การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการเรียนรู้
(Use of Application Programs for Learning)
1(0-2-1)
IST20 1003 ทักษะชีวิต
(Life Skills)
3(3-0-6)
IST20 1004 ความเป็นพลเมืองและพลเมืองโลก
(Citizenship and Global Citizens)
3(3-0-6)
IST20 2001 มนุษย์กับสังคมและสิ่งแวดล้อม
(Man, Society and Environment)
3(3-0-6)
IST20 2002 มนุษย์กับเศรษฐกิจและการพัฒนา
(Man, Economy and Development)
3(3-0-6)
1.2) กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 15 หน่วยกิต
IST30 1101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
(English for Communication 1)
3(3-0-6)
IST30 1102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
(English for Communication 2)
3(3-0-6)
IST30 1103 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการ
(English for Academic Purposes)
(3-0-6)
IST30 1104 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
(English for Specific Purposes)
3(3-0-6)
IST30 1105 ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน
(English for Careers)
3(3-0-6)
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก
ให้ผู้เรียนเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้
8 หน่วยกิต
IST20 1501 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
(Thai for Communication)
2(2-0-4)
IST20 1502 ศิลปวิจักษ์
(Art Appreciation)
2(2-0-4)
IST20 1503 สุขภาพองค์รวม
(Holistic Health)
2(2-0-4)
IST20 1504 กฎหมายในชีวิตประจำวัน
(Law in Daily Life)
2(2-0-4)
IST20 2501 พันธกิจสัมพันธ์ชุมชนกับกลุ่มอาชีพ
(Professional and Community Engagement)
2(1-2-3)
IST20 2502 ไทยศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
(Pluri-Cultural Thai Studies)
2(2-0-4)
IST20 2503 อาเซียนศึกษา
(ASEAN Studies)
2(2-0-4)
IST20 2504 การคิดเชิงออกแบบ
(Design Thinking)
2(2-0-4)
IST20 2505 ฮักเจ้าของ
(Love Yourself)
2(2-0-4)
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 110 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 42 หน่วยกิต
SCI02 1105 เคมีอินทรีย์
(Organic Chemistry)
3(3-0-6)
SCI02 1106 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
(Organic Chemistry Laboratory)
1(0-3-0)
SCI02 1111 เคมีพื้นฐาน 1
(Fundamental Chemistry I)
4(4-0-8)
SCI02 1112 ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1
(Fundamental Chemistry Laboratory I)
1(0-3-0)
SCI02 2202 เคมีเชิงฟิสิกส์
(Physical Chemistry)
3(3-0-6)
SCI02 2214 เคมีปริมาณวิเคราะห์
(Quantitative Chemical Analysis)
3(3-0-6)
SCI02 2215 ปฏิบัติการเคมีปริมาณวิเคราะห์
(Quantitative Chemical Analysis Laboratory)
1(0-3-0)
SCI03 1001 แคลคูลัส 1
(Calculus I)
4(4-0-8)
SCI04 1001 หลักชีววิทยา 1
(Principles of Biology I)
4(4-0-8)
SCI04 1002 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 1
(Principles of Biology Laboratory I)
1(0-3-0)
SCI05 1003 ฟิสิกส์ทั่วไป
(General Physics)
4(4-0-8)
SCI05 1193 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป
(General Physics Laboratory)
1(0-3-0)
SCI08 2001 จุลชีววิทยา
(Microbiology)
4(4-0-8)
SCI08 2002 ปฏิบัติการจุลชีววิทยา
(Microbiology Laboratory)
1(0-3-0)
SCI08 2201 ชีวเคมี
(Biochemistry)
4(4-0-8)
SCI09 2204 ปฏิบัติการชีวเคมี
(Biochemistry Laboratory)
1(0-3-0)
IAT31 1001 ปฐมนิเทศแรงบันดาลใจและนวัตกรรมการเกษตร
(Introduction to Agricultural Inspiration and Innovation)
1(1-0-2)
IAT31 1002 การเขียนเชิงวิชาการ
(Academic Writing)
1(0-3-2)
2.2) กลุ่มบังคับวิชาชีพเทคโนโลยีอาหาร 60 หน่วยกิต
ชุดวิชาจุลชีววิทยาและความปลอดภัยทางอาหาร 8(7-3-14)
IAT35 2101 จุลชีววิทยาทางอาหาร
(Food Microbiology)
4(4-0-8)
IAT35 2102 ปฏิบัติการจุลชีววิทยาและความปลอดภัยทางอาหาร
(Food Microbiology and Food Safety Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 2103 ความปลอดภัยทางอาหาร
(Food Safety)
1(1-0-2)
IAT35 2104 สุขาภิบาลและการจัดการสภาพแวดล้อมโรงงานอาหาร
(Food Plant Sanitation and Environment Management)
2(2-0-4)
ชุดวิชาเคมีและชีวเคมีทางอาหาร 8(7-3-14)
IAT35 2201 เคมีอาหาร
Food Chemistry
4(4-0-8)
IAT35 2202 ปฏิบัติการเคมีอาหาร
(Food Chemistry Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 2203 ชีวเคมีทางอาหาร
Food Biochemistry
3(3-0-6)
ชุดวิชาโภชนาการและการวิเคราะห์อาหาร 8(6-6-16)
IAT35 3301 อาหารและโภชนาการ
(Food and Nutrition)
4(4-0-8)
IAT35 3302 การวิเคราะห์อาหาร
(Food Analysis)
4(2-6-8)
ชุดวิชาโภชนาการและการวิเคราะห์อาหาร 8(6-6-16)
IAT35 3401 การแปรรูปอาหาร
(Food Processing)
3(3-0-6)
IAT35 3402 หลักการพื้นฐานทางวิศวกรรมอาหาร
(Fundamental of Food Engineering)
4(4-0-8)
IAT35 3403 ปฏิบัติการแปรรูปอาหาร
(Food Processing Laboratory)
1(0-3-0)
IAT35 3404 การแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร 1
(Food Processing and Engineering 1)
3(3-0-6)
IAT35 3405 การแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร 2
(Food Processing and Engineering 2)
3(3-0-6)
IAT35 3406 ปฏิบัติการแปรรูป และวิศวกรรมอาหาร
(Food Processing and Engineering Laboratory)
2(0-6-0)
ชุดวิชาควบคุมคุณภาพ ประกันคุณภาพ และสถิติ 12(10-6-16)
IAT35 3501 การควบคุมคุณภาพอาหาร
(Food Quality Control)
4(3-3-4)
IAT35 3502 สถิติสำหรับเทคโนโลยีอาหาร
(Statistics for Food Technology)
4(3-3-4)
IAT35 3503 ระบบประกันคุณภาพพื้นฐานและมาตรฐานสากลในอุตสาหกรรมอาหาร
(Basic Quality Assurance System and International Standards in Food Industry)
4(4-0-8)
ชุดวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์และกฎหมายอาหาร 8(5-9-10)
IAT35 4601 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการตลาด 1
(Food Product Development and Marketing I)
4(3-3-6)
IAT35 4602 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการตลาด 2
(Food Product Development and Marketing II)
2(0-6-0)
IAT35 4603 กฎหมายและมาตรฐานอาหาร
(Food Law and Standards)
2(2-0-4)
2.3) กลุ่มการวิจัย   5 หน่วยกิต
ชุดวิชาบูรณาการโครงงานและเทคโนโลยีอาหาร 5(X-X-X)
IAT35 4701 สัมมนา
(Seminar)
2(2-0-4)
IAT35 4702 โครงงานเทคโนโลยีอาหาร
(Food Technology Project)
3(0-9-0)
2.4) กลุ่มวิชาเลือกของวิชาชีพ   3 หน่วยกิต
เลือกเรียนวิชาเลือกของสาขาวิชาไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
IAT35 4703 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์นม
(Dairy Product Technology)
4(3-3-4)
IAT35 4704 การประเมินทางประสาทสัมผัสของอาหาร
(Sensory Evaluation of Foods)
3(2-3-4)
IAT35 4705 เทคโนโลยีการทำแห้งผลิตผลทางการเกษตร
(Drying Technology for Agricultural Products)
4(2-6-4)
IAT35 4706 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ขนมอบ
(Bakery Product Technology)
3(1-6-2)
IAT35 4707 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ธัญพืชและพืชตระกูลถั่ว
(Cereal and Legume Product Technology)
4(2-6-4)
IAT35 4708 อาหารและโภชนบำบัด
(Food and Diet Therapy)
3(2-3-4)
IAT35 4709 พฤกษเคมีในอาหารฟังก์ชัน
(Phytochemical in Functional Foods)
4(2-6-8)
IAT35 4710 สารก่อมะเร็งในอาหาร
(Carcinogens in Food)
4(3-3-6)
IAT35 4711 อาหารสำหรับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและวัยชรา
(Food for Non-communicable Diseases and Aging)
IAT35 4712 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อและสัตว์ปีก
(Meat and Poultry Product Technology)
4(2-6-4)
IAT35 4713 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง
(Fishery Product Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4714 เทคโนโลยีเอนไซม์ทางอาหาร
(Food Enzyme Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4715 เทคโนโลยีการหมักดองอาหาร
(Food Fermentation Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4716 เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้
(Fruit and Vegetable Product Technology)
3(2-3-4)
IAT35 4717 ระบบประกันคุณภาพมาตรฐานส่งออกในอุตสาหกรรมอาหาร
(Quality Assurance for Export in Food Industry)
3(3-0-6)
3) หมวดประสบการณ์ภาคปฏิบัติ 9 หน่วยกิต
IST50 3412 เตรียมสหกิจศึกษาประกอบการหรือเตรียมการบ่มเพาะประกอบการ
(Pre-Enterprise Cooperative Education or Pre-Enterprise Incubation)
1(1-0-2)
IST50 4413 สหกิจศึกษาประกอบการ
(Enterprise Cooperative Education)
8 หน่วยกิต
IST50 4414 การบ่มเพาะประกอบการ
(Enterprise Incubation)
8 หน่วยกิต
4) หมวดวิชาเลือกเสรี 8 หน่วยกิต
เลือกเรียนวิชาใด ๆ ก็ได้ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต
5) หมวดวิชาโทความเป็นผู้ประกอบการ 12 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชาบังคับ 8 หน่วยกิต
IST50 2401 ความเป็นผู้ประกอบการกับการสร้างธุรกิจใหม่
(Entrepreneurship and New Venture Creation)
3(3-0-6)
IST50 2402 กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์และบริการนวัตกรรม
(Go-to-Market Strategies for Innovative Product and Service)
2(2-0-4)
IST50 2403 แผนธุรกิจและการจัดหาเงินทุน
(Business Plan and Financing)
3(3-0-6)
- กลุ่มวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต
IST50 2404 นวัตกรรมแบบจำลองธุรกิจ
(Business Model Innovation)
2(1-2-3)
IST50 2405 การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ
(Product and Service Design)
2(1-2-3)
IST50 2406 ประเด็นกฎหมายสำหรับผู้ประกอบการนวัตกรรม
(Legal Aspects for Innovative Entrepreneurs)
2(2-0-4)
IST50 2407 กลยุทธ์ทรัพย์สินทางปัญญาสำหรับธุรกิจนวัตกรรม
(Intellectual Property Strategies for Innovative Business)
2(2-0-4)
IST50 2408 การพัฒนานวัตกรรมทางสังคม
(Social Innovation Development)
2(1-2-3)
IST50 2409 ความเป็นผู้ประกอบการทางสังคม
(Social Entrepreneurship)
2(1-2-3)
IST50 2410 ความเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี
(Technopreneurship)
2(1-2-3)
IST50 2411 โลจิสติกส์ผู้ประกอบการ
(Entrepreneurial Logistics)
2(2-0-4)

Download  มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)

อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา