หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

ชื่อหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) Doctor of Philosophy Program in Crop Science (International Program)
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชศาสตร์)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) Doctor of Philosophy (Crop Science)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) ปร.ด. (พืชศาสตร์)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) Ph.D. (Crop Science)
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
  1. นักวิชาการด้านพืช ทั้งในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ
  2. อาจารย์และนักวิจัยทั้งในและต่างประเทศ
  3. นักปรับปรุงพันธุ์พืช (Breeder) ที่ปรึกษาทางการเกษตร (Agricultural consultant) และ นักเทคนิคการเกษตร (Agricultural Technician) ทั้งในหน่วยงานรัฐและเอกชน
  4. เจ้าของธุรกิจ หรืออาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจด้านพืช
  5. หัวหน้าและผู้จัดการฝ่ายวิจัยและพัฒนาสินค้าเกษตรในหน่วยงานรัฐและเอกชน ทั้งในและต่างประเทศ
  6. กลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมด้านพืช
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs)
ปรัชญาของหลักสูตร มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะในการวิจัยด้านพืชศาสตร์ในระดับสากล
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) PLO1 อธิบายหลักการ และทฤษฎี ทางด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
PLO2 ประเมิน คิดวิเคราะห์ และเลือกใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านพืชศาสตร์ได้อย่างมีระบบถูกต้องและเหมาะสม
PLO3 คิดค้น สร้างสรรค์เชิงออกแบบงานวิจัย และการจัดการงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงด้านพืชศาสตร์
SPLO3.1 คิดค้น สร้างสรรค์เชิงออกแบบงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงด้านพืชศาสตร์
SPLO3.2 จัดการงานวิจัยและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านพืชศาสตร์
PLO4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและสื่อสารองค์ความรู้ทางด้านพืชศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO5 ทางานร่วมกับคนอื่นได้ มีความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
SPLO5.1 ทางานร่วมกับคนอื่นได้ มีความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
SPLO5.2 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ
เว็บไซต์สาขาวิชา https://iat.sut.ac.th/croptech
หลักสูตร
แผน 1 เน้นวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ แผน 1.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต โดยต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา IAT32 7801 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 2IAT3 7802 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2 IAT32 7803 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3 และ IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 โดยไม่คิดหน่วยกิต
แผน 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิจัยคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและศึกษารายวิชา แผน 2.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และต้องเรียนวิชาบังคับ จำนวน 4 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต และวิชาวิทยานิพนธ์จานวนไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
แผน 2.2 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี (เกียรตินิยม) เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา ต้องเรียนวิชาบังคับ จานวน 6 หน่วยกิต วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิตและวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 92 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา หลักสูตร พ.ศ. 2565 (จำนวนหน่วยกิต)
แผน 1.1 แผน 2.1
(ผู้เข้าศึกษาสำเร็จปริญญาโท)
แผน 2.2
(ผู้เข้าศึกษาสำเร็จปริญญาตรี)
1) หมวดวิชา
   หมวดวิชาบังคับ - ไม่น้อยกว่า 4 ไม่น้อยกว่า 6
   หมวดวิชาเลือก - ไม่น้อยกว่า 11 ไม่น้อยกว่า 26
2) วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 60 ไม่น้อยกว่า 45 ไม่น้อยกว่า 60
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 60 ไม่น้อยกว่า 60 ไม่น้อยกว่า 92

หมายเหตุ:

  1. แผนการศึกษา 2.1 เรียนวิชาสัมมนา 4 รายวิชา รวม 4 หน่วยกิต ได้แก่ รายวิชา IAT32 7801 - IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 - 4 และแผนการศึกษา แผน 2.2 เรียนสัมมนา 6 รายวิชา รวม 6 หน่วยกิต ได้แก่ รายวิชา IAT32 6801 - IAT32 6802 สัมมนามหาบัณฑิต 1 - 2 และ IAT32 7801 - IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 - 4
  2. วิชาเลือกในระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาวิชาฯ กลุ่มวิชาเลือก ข้อ 2.1 - 2.7 ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต สำหรับแผนการศึกษา แผน 2.1 และไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต สำหรับแผนการศึกษาแผน 2.2 หรือของต่างสาขาวิชา/สถาบันการศึกษา โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา
  3. การทำวิทยานิพนธ์อาจจะทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีหรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นทั้งภายในและต่างประเทศ

รายวิชาในหลักสูตร


แผน 1.1 เน้นวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
IAT32 7901 วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 1.1
(Ph. D. Thesis Scheme 1.1)
60
แผน 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิจัยคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและศึกษารายวิชา หน่วยกิต
1) วิชาบังคับ (Compulsory Courses) หน่วยกิต
IAT32 6801 สัมมนามหาบัณฑิต 1
(M.Sc. Seminar I)
1(1-0-2)
IAT32 6802 สัมมนามหาบัณฑิต 2
(M.Sc. Seminar II)
1(1-0-2)
IAT32 7801 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1
(Ph.D. Seminar I)
1(1-0-2)
IAT32 7802 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2
(Ph.D. Seminar II)
1(1-0-2)
IAT32 7803 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3
(Ph.D. Seminar III)
1(1-0-2)
IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4
(Ph.D. Seminar IV)
1(1-0-2)
2) วิชาเลือก (Elective Courses) หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาหลักและวิชาปรับพื้นฐานความรู้ทางพืชศาสตร์ (Core Courses and Foundation Courses in Crop Science)
IAT32 5601 การวางแผนและวิเคราะห์ผลการทดลอง
(Experimental Designs and Analysis)
3(2-3-4)
IAT32 5602 ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
(Research Methodology in Crop Science)
2(1-3-2)
IAT32 5603 พืชศาสตร์ระดับสูง
(Advanced Crop Science)
3(3-0-6)
IAT32 5604 การเตรียมต้นฉบับบทความสำหรับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ
(Manuscript Preparation)
2(1-3-2)
IAT32 5605 พื้นฐานพืชศาสตร์ 1
(Fundamental Crop Sciences I)
3(3-0-6)
IAT32 5606 พื้นฐานพืชศาสตร์ 2
(Fundamental Crop Sciences II)
3(3-0-6)
IAT32 5607 ปฏิบัติการพืชศาสตร์เบื้องต้น
(Fundamental Crop Sciences Laboratory)
2(1-3-6)
IAT32 5608 เทคโนโลยีด้านพืชสำหรับทุกคน
(Crop Technology for All)
3(2-3-4)
IAT32 5609 เทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่
(Modern Technology in Crop Production)
2(2-0-4)
IAT32 5610 เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยด้านผลิตพืช
(Crop Production Instruments)
2(1-3-4)
2.2) กลุ่มวิชาปรับปรุงพันธ์พืช (Plant Breeding)
IAT32 5101 เทคนิคในการปรับปรุงพันธุ์พืชสมัยใหม่
(Modern Plant Breeding Techniques)
3(2-3-4)
IAT32 5102 หัวข้อคัดสรรในการปรับปรุงพันธุ์พืช 1
(Selected Topics in Plant Breeding I)
2(2-0-4)
IAT32 6101 การปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง 1
(Advanced Plant Breeding I)
3(3-0-6)
IAT32 6102 การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีพันธุวิศวกรรม
(Genetic Engineering for Crop Improvement)
3(3-0-6)
IAT32 6103 การปรับปรุงพันธุ์พืชเชิงโมเลกุล
(Molecular Plant Breeding)
3(3-0-6)
IAT32 6104 การปรับปรุงพันธุ์เพื่อต้านทานศัตรูพืช
(Breeding for Plant Pest Resistance)
2(2-0-4)
IAT32 6105 การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อทนทานต่อสภาวะเครียดจากสิ่งไม่มีชีวิต
(Plant Breeding for Abiotic Stress Tolerance)
2(2-0-4)
IAT32 6106 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืช
(Individual Study in Plant Breeding)
1(1-0-2)
IAT32 6107 หัวข้อคัดสรรในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2
(Selected Topics in Plant Breeding II)
3(3-0-6)
IAT32 6108 พันธุศาสตร์ปริมาณในการปรับปรุงพันธุ์พืช
(Quantitative Genetics for Plant Breeding)
3(3-0-6)
2.3) กลุ่มวิชาสรีรวิทยาพืช (Plant Physiology)
IAT32 6201 สรีรวิทยาพืชระดับสูง
(Advanced Crop Physiology)
3(2-3-4)
IAT32 6202 การตอบสนองและการปรับตัวของพืชภายใต้ภาวะวิกฤติ
(Plant Responses and Adaptation to Stress)
3(2-3-4)
IAT32 6203 สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช
(Physiology of Plant Growth and Development)
3(3-0-6)
IAT32 6204 การศึกษาขั้นสูงของสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
(Advanced Plant Growth Regulators)
3(3-0-6)
IAT32 6205 การพัฒนาของพืชเชิงโมเลกุล
(Molecular Plant Development)
2(2-0-4)
IAT32 6206 ปฏิบัติการประยุกต์ในสรีรวิทยาพืช
(Applied Methods in Crop Physiology)
2(0-6-0)
IAT32 6207 กระบวนการสร้างและสลายสารของพืช
(Plant Metabolism)
3(3-0-6)
IAT32 6208 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับสรีรวิทยาพืช
(Individual Study in Plant Physiology)
1(1-0-2)
IAT32 6209 เทคโนโลยีโอมิกส์สาหรับการผลิตพืชสมัยใหม่
(Omics Technology for Modern Crop Production)
3(3-0-6)
IAT32 6210 การประยุกต์ใช้แสงและคาร์บอนไดออกไซด์ในการผลิตพืช
(Light and Carbon Dioxide Application in Crop Production)
3(2-3-4)
IAT32 6211 ปฏิสัมพันธ์ของพืชและจุลินทรีย์มีประโยชน์
(Plant-beneficial Microbe Interaction)
3(3-0-6)
2.4) กลุ่มวิชาอารักขาพืช กีฏวิทยา (Entomology) และโรคพืชวิทยา (Plant Pathology)
IAT32 5301 โครงสร้างของแมลงและหน้าที่
(Insect Structure and Function)
3(3-0-6)
IAT32 5302 นิเวศวิทยาของแมลง
(Insect Ecology)
3(2-3-4)
IAT32 5303 เทคนิคการปฏิบัติการด้านกีฏวิทยา
(Entomological Technique Practicum)
3(2-3-4)
IAT32 6301 พิษวิทยาของสารเคมีฆ่าแมลง
(Insecticide Toxicology)
3(3-0-6)
IAT32 6302 การจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว
(Postharvest Plant Pests Management)
3(2-3-4)
IAT32 6303 การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีระดับสูง
(Advanced Biological Control of Plant Pests)
3(2-3-4)
IAT32 6304 ความต้านทานของพืชต่อศัตรูพืช
(Plant Resistance to Plant Pests)
3(3-0-6)
IAT32 6305 การนำโรคพืชของแมลง
(Insect Transmission of Plant Diseases)
3(3-0-6)
IAT32 6306 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับกีฏวิทยา
(Individual Study in Entomology)
1(1-0-2)
IAT32 6307 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช
(Product Development of Bio-Pesticides)
3(2-3-4)
IAT32 5304 จุลชีพสาเหตุของโรคพืช
(Plant Pathogens)
3(2-3-4)
IAT32 5305 เทคนิคทางโรคพืชวิทยา
(Plant Pathological Techniques)
3(2-3-4)
IAT32 5306 การวินิจฉัยสุขภาพพืชและโรคพืช
(Plant Health and Plant Disease Diagnosis)
3(2-3-4)
IAT32 6308 โรควิทยาเมล็ดพันธุ์
(Seed Pathology)
3(2-3-4)
IAT32 6309 การจัดการสุขภาพพืชแบบบูรณาการ
(Integrated Plant Health Management)
3(2-3-4)
IAT32 6310 มาตรฐานสากลเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย
(International Standard for Safe Crop Production)
3(2-3-4)
IAT32 6311 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับโรคพืชสมัยใหม่
(Individual Study in Modern Plant Pathology)
1(1-0-2)
IAT32 6312 เทคโนโลยีดิจิทัลด้านโรคพืช
(Digital Technology in Plant Pathology)
3(2-3-4)
IAT32 6313 แอคเทคสตาร์ทอัพด้านโรคพืช
(Ag-tech Startup in Plant Pathology)
3(2-3-4)
IAT32 7301 การจัดการแมลงหลังการเก็บเกี่ยว
(Postharvest Insect Pest Management)
3(2-3-4)
IAT32 7302 การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีระดับสูง
(Advanced Biological Control of Insect Pests)
3(2-3-4)
IAT32 7303 ความต้านทานของพืชต่อแมลง
(Plant Resistance to Insects)
3(3-0-6)
IAT32 7304 โรคพืชวิทยาหลังเก็บเกี่ยว
(Postharvest Pathology)
3(2-3-4)
IAT32 7305 ความต้านทานของพืชต่อโรค
(Plant Resistance to Diseases)
3(3-0-6)
IAT32 7306 การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธีระดับสูง
(Advanced Biological Control of Plant Diseases)
3(2-3-4)
2.5) กลุ่มวิชาปฐพีวิทยา (Soil Science)
IAT32 5401 ธาตุอาหารพืช
(Mineral Plant Nutrients)
3(2-3-4)
IAT32 5402 การวิเคราะห์ดินและพืช
(Soil and Plant Analysis)
3(2-3-4)
IAT32 5403 เทคโนโลยีปุ๋ย
(Fertilizer Technology)
3(3-0-6)
IAT32 6401 จุลชีววิทยาของดิน
(Soil Microbiology)
3(2-3-4)
IAT32 6402 เคมีของดิน
(Soil Chemistry)
3(3-0-6)
IAT32 6403 ฟิสิกส์ของดิน
(Soil Physics)
3(3-0-6)
IAT32 6404 ความสัมพันธ์ระหว่างดินกับพืช
(Soil and Plant Relationships)
3(3-0-6)
IAT32 6405 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับปฐพีวิทยา
(Individual Study in Soil Science)
1(1-0-2)
2.6) กลุ่มวิชาวิทยาการพืชหลังเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (Seed Technology)
IAT32 5501 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลพืชสวน
(Postharvest Technology of Horticultural Crops)
3(2-3-4)
IAT32 5502 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้
(Postharvest Technology of Flowers)
3(2-3-4)
IAT32 5503 วิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของพืชไร่
(Postharvest Technology of Field Crops)
3(3-0-6)
IAT32 5504 ระบบการจัดการกับผลิตผลสดหลังการเก็บเกี่ยว
(Postharvest Handling Systems of Fresh Produce)
3(3-0-6)
IAT32 6501 เครื่องมือที่ใช้ในวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
(Postharvest Technology Instrumentation)
1(0-3-0)
IAT32 6502 สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการเปลี่ยนแปลงของผลิตผลสด
(Postharvest Physiology and Changes of Fresh Produce)
3(3-0-6)
IAT32 6503 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับวิทยาการหลังเก็บเกี่ยว
(Individual Study in Postharvest Technology)
1(1-0-2)
IAT32 6504 บรรจุภัณฑ์สาหรับผลิตผลทางการเกษตร
(Packaging for Agricultural Products)
3(3-0-6)
IAT32 6505 ผลไม้และผักตัดแต่งพร้อมบริโภค
(Minimally Processed Fruits and Vegetables)
3(2-1-3)
IAT32 5505 เทคนิคผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพสูง
(High Quality Seed Production)
3(3-0-6)
IAT32 6506 สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์
(Seed Physiology)
3(3-0-6)
IAT32 6507 ธุรกิจเมล็ดพันธุ์ระดับสูง
(Advanced Seed Business)
3(3-0-6)
IAT32 6508 การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์สมัยใหม่
(Individual Study in Modern Seed Technology)
1(1-0-2)
2.7) กลุ่มวิชาเกี่ยวเนื่องทางพืชศาสตร์ (Crop Science Relating Subjects)
IAT32 6601 แนวโน้มความยั่งยืนในนวัตกรรมด้านพืช
(Sustainability Trends in the Crop Innovation)
3(2-3-4)
IAT32 6602 แบบจำลองการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของพืช
(Crop Simulation Modeling)
3(2-3-4)
IAT32 6603 สถิติเพื่อการวิจัยระดับสูง
(Advanced Statistics for Experimental Research)
3(3-0-6)
IAT32 6604 ปริทัศน์กลยุทธ์ด้านพืชศาสตร์
(Perspectives in Crop Science Strategies)
1(1-0-2)
IAT32 6605 โจทย์วิจัยด้านพืชศาสตร์
(Research Topic in Crop Science)
1(1-0-2)
IAT32 6606 โรงงานผลิตพืชเชิงอุตสาหกรรมและการจัดการ
(Plant Factory for Management of Culture Solution)
3(2-3-4)
IAT32 6607 การผลิตพืชสมัยใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่า
(Urban Indoor Cultivation of High Value Crops)
3(2-3-4)
IAT32 6608 การคิดเชิงออกแบบสาหรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพืช
(Design Thinking for Crop Technology and Innovation)
3(2-3-4)
IAT32 6609 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SAS สำหรับวิเคราะห์สถิติในงานวิจัยทางพืชศาสตร์
(Application of SAS Package for Statistical Analysis in Plant Science Research)
2(1-3-4)
IAT32 6610 การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยทางพืชศาสตร์โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SAS
(Advance Statistical Analysis in Plant Science Research by SAS Package)
2(1-3-2)
2.8) กลุ่มวิชาด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการด้านพืชสมัยใหม่ (Innovative and Entrepreneur in Modern Crop Production)
IAT32 5701 ความเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม
(Entrepreneurship and Innovation)
2(2-0-4)
IAT32 5702 การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้ทางธุรกิจ
(Opportunity and Feasibility Analysis)
2(2-0-4)
IAT32 5703 กลยุทธ์ทรัพย์สินทางปัญญา
(Intellectual Property Strategies)
2(2-0-4)
IAT32 6701 ผู้ประกอบการด้านพืชศาสตร์
(Agripreneur in Crop Science)
3(0-9-0)
IAT32 6702 ระบบการปลูกพืชที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย
(Sustainable Cropping Systems for Thailand)
3(3-0-6)
IAT32 6703 การส่งเสริมเกษตรและการนำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์
(Agricultural Extension and Technology Adoption)
3(3-0-6)
IAT32 6704 การพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าสำหรับพืชมูลค่าสูง
(Value Chain Development for High-Value Crops)
3(3-0-6)
IAT32 6705 การออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์มมิ่ง
(Smart Farming Systems Design)
3(3-0-6)
IAT32 6706 นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ด้านพืช
(Crop Product Innovation)
3(3-0-6)
IAT32 6707 นวัตกรรมและความยั่งยืนของอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านพืช
(Innovative and Sustainable Crop Industry and Business)
3(3-0-6)
IAT32 6708 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการผลิตพืช
(Climate Change Adaption in Crop Production)
3(3-0-6)
IAT32 6709 การเร่งการเติบโตของสตาร์ทอัพด้านพืช
(Crop-tech Startup Accelerator)
3(3-0-6)
IAT32 6710 การลงทุนและการขยายการเติบโตของสตาร์ทอัพด้านพืช
(Crop-tech Startup-Venture Capital and Scaling Growth)
3(3-0-6)
IAT32 6711 โมเดลธุรกิจด้านพืชเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน
(Crop-tech Business Models for Sustainable Change)
3(3-0-6)
IAT32 6712 เกษตรข้ามวัฒนธรรม
(Cross-Cultural Agriculture)
3(0-9-0)
IAT32 6713 ฝึกการทำงานร่วมกันแบบสหวิทยาการ
(Practicing Transdisciplinary Collaboration)
3(0-9-9)
2.9) กลุ่มวิชาปัญหาพิเศษ (Special Problem) และสหกิจศึกษา (Co-operative Education)
IAT32 6803 ปัญหาพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา
(Graduate Special Problems)
3(0-9-9)
IAT32 6804 สหกิจบัณฑิตศึกษา
(Graduate Co-operative Education)
8(0-0-0)
2.10) รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษารายวิชาอื่น ๆ จากสำนักวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัย ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา
2.11) รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัยร่วมที่มีการบันทึกข้อตกลงว่าด้วยหลักสูตรควบ 2 ปริญญา (Double Degree Program) ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา
3) วิทยานิพนธ์ (Thesis)
IAT32 7902 วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 2.1 ไม่น้อยกว่า
(Ph. D. Thesis Scheme 2.1)
45 หน่วยกิต
IAT32 7903 วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 2.2 ไม่น้อยกว่า
(Ph. D. Thesis Scheme 2.2)
60 หน่วยกิต

Download  มคอ. 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)

อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา