หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ) | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy Program in Food Technology (International Program) | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีอาหาร) | |
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy (Food Technology) | |
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) | ปร.ด. (เทคโนโลยีอาหาร) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | Ph.D. (Food Technology) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
|
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | มุ่งผลิตบัณฑิตเพื่อพัฒนาวิชาการเชิงลึกด้านเทคโนโลยีอาหารในระดับสากล | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | อภิปรายความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอาหารเชิงลึก |
PLO2 | ประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาทางวิชาชีพเชิงลึกได้ | |
PLO3 | สื่อสารโดยภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง | |
PLO4 | ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ตามจริยธรรมที่ดี/td> | |
PLO5 | ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ | |
PLO6 | จัดการด้านเวลาในการทำงานวิจัยได้ | |
PLO7 | สร้างสรรค์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอาหารเชิงลึก | |
Sub PLO7.1 สามารถคิดเชิงวิพากษ์ด้านเทคโนโลยีอาหารเชิงลึก | ||
Sub PLO7.2 ดำเนินงานวิจัยเชิงลึกได้ |
หลักสูตร | |
แบบ 1 | เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว |
แบบ 1.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต โดยต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา IAT35 8801 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 IAT35 8802 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2 IAT35 8803 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3 และ IAT35 8804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 โดยไม่คิดหน่วยกิต | |
แบบ 2 | เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา |
แบบ 2.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา โดยมีการเรียนวิชาบังคับ จำนวน 4 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต (โดยเลือกในกลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหารอย่างน้อย 6 หน่วยกิต) และวิชาวิทยานิพนธ์จำนวนไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต | |
แบบ 2.2 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี (เกียรตินิยม) เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา โดยมีการเรียนวิชาบังคับ จำนวน 4 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิต (โดยเลือกในกลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหารอย่างน้อย 14 หน่วยกิต) และวิชาวิทยานิพนธ์จำนวนไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา | หลักสูตร พ.ศ. 2565 (จำนวนหน่วยกิต) | ||
---|---|---|---|
แบบ 1.1 | แบบ 2.1 | แบบ 2.2 | |
1) หมวดวิชา | - | ไม่น้อยกว่า 15 | ไม่น้อยกว่า 30 |
หมวดวิชาบังคับ | - | 4 | 4 |
หมวดวิชาเลือก | - | ไม่น้อยกว่า 11(1) | ไม่น้อยกว่า 26(2) |
2) วิทยานิพนธ์ | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 45 | ไม่น้อยกว่า 60 |
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 90 |
* โดยต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา IAT358801 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1, IAT358802 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2, IAT358803 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3, และ IAT358804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 โดยไม่คิดหน่วยกิต
(1) รายวิชาเลือก โดยเลือกในกลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร อย่างน้อย 6 หน่วยกิต
(2) รายวิชาเลือก โดยเลือกในกลุ่มสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร อย่างน้อย 14 หน่วยกิต
รายวิชาในหลักสูตร
1) วิชาบังคับ (Compulsory Courses) | 4 หน่วยกิต | |
---|---|---|
IAT35 8801 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 (Ph.D. Seminar I) |
1(1-0-2) |
IAT35 8802 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2 (Ph.D. Seminar II) |
1(1-0-2) |
IAT35 8803 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3 (Ph.D. Seminar III) |
1(1-0-2) |
IAT35 8804 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 (Ph.D. Seminar IV) |
1(1-0-2) |
2) วิชาปรับพื้นฐานความรู้ทางเทคโนโลยีอาหาร* (Foundation Courses) | ||
---|---|---|
รายวิชาที่ต้องเรียนสำหรับผู้ที่ไม่ได้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากหลักสูตรอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาศาสตร์การอาหาร เทคโนโลยีอาหาร วิศวกรรมอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ์ และ เทคโนโลยีการบรรจุ ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร | ||
IAT35 5109 | หลักจุลชีววิทยาอาหาร (Principles of Food Microbiology) |
4(4-0-8) |
IAT35 5209 | หลักเคมีอาหาร (Principles of Food Chemistry) |
4(4-0-8) |
IAT35 5309 | หลักการแปรรูปอาหาร (Principles of Food Processing) |
4(4-0-8) |
IAT35 5409 | หลักวิศวกรรมอาหาร (Principles of Food Engineering) |
4(4-0-8) |
* คิดระดับคะแนนเป็น S หรือ U และไม่คิดเป็นหน่วยกิตในรายวิชาเลือก |
3) วิชาเลือก (Elective Courses) | หน่วยกิต | |
---|---|---|
3.1 วิชาเลือกของสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร จากรายวิชาต่อไปนี้ | ||
IAT35 5101 | เทคโนโลยีชีวภาพอาหาร (Food Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT35 5201 | โภชนเภสัชภัณฑ์และอาหารสุขภาพ (Nutraceuticals and Functional Foods) |
4(4-0-8) |
IAT35 5202 | การทดสอบโดยเซลล์ไลน์สำหรับอาหารฟังก์ชั่น (Cell-Based Assays for Functional Foods) |
4(2-6-4) |
IAT35 5301 | การประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Shelf-Life Evaluation of Biological Products) |
3(2-3-4) |
IAT35 6101 | จุลชีววิทยาอาหารขั้นสูง (Advanced Food Microbiology) |
3(3-0-6) |
IAT35 6102 | สารเมตาบอไลท์จากจุลินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร (Microbial Metabolites for Food Industry) |
3(3-0-6) |
IAT35 6103 | การประเมินความเสี่ยงของความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอุตสาหกรรมอาหาร (Risk Assessment of Microbiological Safety in Food Industry) |
3(3-0-6) |
IAT35 6201 | การวิเคราะห์อาหารด้วยเครื่องมือ (Instrumental Analysis of Food) |
4(3-3-6) |
IAT35 6202 | คาร์โบไฮเดรตในอาหาร (Food Carbohydrates) |
3(3-0-6) |
IAT35 6203 | โปรตีนในอาหาร (Food Proteins) |
3(3-0-6) |
IAT35 6204 | เอนไซม์ทางอาหาร (Food Enzymes) |
3(2-3-4) |
IAT35 6205 | ลิพิดในอาหาร (Food Lipids) |
3(3-0-6) |
IAT35 6206 | เทคโนโลยีกลิ่นรสอาหาร (Food Flavors Technology) |
3(3-0-6) |
IAT35 6207 | โภชนาการอาหารขั้นสูง (Advanced Food Nutrition) |
4(4-0-8) |
IAT35 6208 | อาหารสำหรับระบบภูมิคุ้มกัน (Foods for Immune System) |
2(2-0-2) |
IAT35 6209 | สตาร์ชและการดัดแปร (Starch and Modifications) |
3(3-0-6) |
IAT35 6301 | การแปรรูปอาหารขั้นสูง (Advanced Food Processing) |
3(3-0-6) |
IAT35 6302 | เทคโนโลยีคอลลอยด์และอิมัลชันในอาหาร (Food Colloidal and Emulsion Technology) |
4(4-0-8) |
IAT35 6303 | เทคโนโลยีวิทยากระแสของอาหาร (Food Rheological Technology) |
4(3-3-6) |
IAT35 6304 | เทคโนโลยีการทำแห้งผลิตผลทางการเกษตร (Drying Technology for Agricultural Products) |
4(2-6-4) |
IAT35 6305 | การเปลี่ยนเฟสและสถานะของอาหาร (Phase/State Transition in Foods) |
3(3-0-6) |
IAT35 6401 | สมบัติทางกายภาพและวิศวกรรมของวัสดุชีวภาพ (Physical and Engineering Properties of Biomaterials) |
3(3-0-6) |
IAT35 6402 | กระบวนการถ่ายเทในอาหารและกระบวนการชีวภาพ (Transfer Processes in Food and Bioprocess) |
3(3-0-9) |
IAT35 6403 | การประเมินและการปรับปรุงกระบวนการผลิตอาหาร (Food Process Evaluation and Improvement) |
3(2-3-4) |
IAT35 6501 | สถิติเพื่อการวิจัยทางเทคโนโลยีอาหาร (Statistics for Food Technology Research) |
4(3-3-6) |
IAT35 6502 | เทคโนโลยีการประเมินทางประสาทสัมผัส (Sensory Evaluation Technology) |
4(4-0-8) |
IAT35 6601 | หัวข้อเฉพาะทางเทคโนโลยีอาหาร (Selected Topics in Food Technology) |
2(2-0-4) |
IAT35 6701 | ปัญหาพิเศษ (Special Problems) |
2(0-6-4) |
3.2 รายวิชาเลือกระดับบัณฑิตศึกษาวิชาอื่น ๆ จากสำนักวิชาต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ วิทยานิพนธ์ที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา | ||
3.3 รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยร่วม ที่มีการทำบันทึกข้อตกลงว่าด้วยหลักสูตรควบ 2 ปริญญา (Double Degree Program) ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา | ||
4) วิทยานิพนธ์ (Thesis) | หน่วยกิต | |
IAT35 9901 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1.1 (Dissertation Scheme 1.1) |
ไม่น้อยกว่า 60 |
IAT35 9902 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2.1 (Dissertation Scheme 2.1) |
ไม่น้อยกว่า 45 |
IAT35 9903 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2.2 (Dissertation Scheme 2.2) |
ไม่น้อยกว่า 60 |
แผนการศึกษา
Download มคอ. 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาเอก | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย/ปี | ค่าบำรุงกิจกรรม/ปี | ค่าหน่วยกิต |
---|---|---|---|
หลักสูตรปริญญาเอก จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาโทและไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาตรี มีแบบการศึกษาให้เลือก ดังนี้ | 20,000 บาท/ปี | 400 บาท/ปี | 2,400 บาท/หน่วยกิต |
แบบ 1 การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ โดยไม่ต้องมีการศึกษารายวิชา แต่สาขาวิชาอาจกำหนดให้เรียนรายวิชา หรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นโดยไม่นับหน่วยกิตด้วยก็ได้ โดยต้องได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
|
|
||
แบบ 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม
|
|
||
|
|