หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ) | |
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) | Master of Science (Biotechnology for Aquaculture) | |
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) | วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | M.Sc. (Biotechnology for Aquaculture) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
|
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | มุ่งผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ “เก่งศาสตร์ เก่งสร้างสรรค์ เก่งสื่อสาร” มีความสามารถในการวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตสัตว์น้ำ สามารถต่อยอด เชื่อมโยงองค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่การประยุกต์ใช้ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | แสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริต การมีวินัย การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ |
PLO2 | อธิบายหลักการ ทฤษฎี เชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ความรู้ ของรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพและนวัตกรรมสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ | |
PLO3 | นำเสนอได้ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน เชิงวิชาการได้ | |
PLO4 | ดำเนินการวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำได้ | |
PLO5 | วิเคราะห์ข้อมูล สังเคราะห์ข้อสรุป จากงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำได้ | |
PLO6 | ถ่ายทอดผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ หรือเผยแพร่ในระดับชาติ หรือนานาชาติได้ |
หลักสูตร | |
แผน 1.1 | เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต |
แผน 1.2 | เป็นการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชาที่คิดค่าคะแนน มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา | หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตสัตว์น้ำ (หน่วยกิต) | |||
---|---|---|---|---|
แผนการศึกษา | แผน 1.1 (ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต) | แผน 1.2 (ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต) | ||
วิชาแกน | - | 9 หน่วยกิต | ||
วิชาเลือก1 | - | ไม่น้อยกว่า 16 หน่วยกิต | ||
วิทยานิพนธ์2 | ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต | ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต |
1 การเรียนรายวิชา นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาของสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ หรือสาขาอื่นได้ โดยอยู่ในความเห็นชอบของสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์
2 การทำการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์นั้น อาจกระทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นๆ ทั้งภายในและต่างประเทศซึ่งมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือเครือข่ายวิชาการที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นสมาชิก
รายวิชาในหลักสูตร
1) วิชาแกน (Core Courses) | ||
---|---|---|
IAT36 5000 | เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการเพาะเลี้ยงและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ (Biotechnology for Aquaculture and aquatic products) |
3(3-0-6) |
IAT36 6000 | ระเบียบวิธีวิจัยและการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ (Research Methods and Scientific Communication) |
3(3-0-6) |
IAT36 8101 | สัมมนาระดับปริญญาโท 1 (M.Sc. Seminar I) |
1(1-0-9) |
IAT36 8102 | สัมมนาระดับปริญญาโท 2 (M.Sc. Seminar II) |
1(1-0-9) |
IAT36 8103 | สัมมนาระดับปริญญาโท 3 (M.Sc. Seminar III) |
1(1-0-9) |
2) วิชาเลือก (Electives) | ||
---|---|---|
2.1) กลุ่มวิชาสัมมนา (Seminar) | ||
IAT36 8104 | สัมมนาระดับปริญญาโท 4 (M.Sc. Seminar IV) |
1(1-0-9) |
2.2) กลุ่มวิชาเทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตสัตว์น้ำ (Basics for Aquaculture Biotechnology) ด้านพันธุศาสตร์ การปรับปรุงพันธุ์ |
||
IAT36 6201 | การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์และอณูพันธุศาสตร์ในการผลิตสัตว์น้ำ (Application of Genetics and Molecular Genetics in Aquaculture) |
3(3-0-6) |
IAT36 7201 | พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Genetics and Biotechnology for Genetic Improvement in Aquaculture) |
3(3-0-6) |
IAT36 7202 | เทคนิคเกี่ยวกับการถ่ายยีนและการวิเคราะห์การแสดงออกของยีนสำหรับการผลิตสัตว์ (Gene Transfer and Gene Expression Techniques for Aquatic Animal Production) |
3(1-6-6) |
ด้านสรีรวิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี | ||
IAT34 5228 | การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุ์และคัพภะของสัตว์โดยวิธีการแช่แข็งเทคโนโลยีโอมิกส์และชีววิทยาระบบ (Omics Technology and Systems Biology) |
3(3-0-12) |
IAT34 5229 | ปฏิบัติการเทคโนโลยีโอมิกส์และชีววิทยาระบบ (Omics Technology and Systems Biology Laboratory) |
1(0-3-6) |
IAT36 6301 | ชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพการสืบพันธุ์ในปลา (Biology and Biotechnology Reproduction in Fish) |
3(3-0-6) |
IAT36 7301 | การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุ์และคัพภะของสัตว์โดยวิธีการแช่เยือกแข็ง (Cryopreservation of Gametes and Embryos of Animals) |
3(2-3-4) |
IAT36 8301 | เทคนิคทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุลในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Molecular Biology Technique in Aquaculture) |
3(1-6-4) |
ด้านการจัดการสุขภาพสัตว์น้ำ | ||
IAT36 7401 | เซลล์และโมเลกุลของระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำ (Cellular and Molecular Immunology of Aquatic Animals) |
3(2-3-6) |
IAT36 8401 | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านโรคในสัตว์น้ำ (Biotechnology for Aquatic Animal Diseases) |
3(3-0-6) |
IAT36 8402 | เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการการจัดการคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Biotechnology for Water Quality Management in Aquaculture) |
3(2-3-6) |
ด้านเทคโนโลยีเก็บเกี่ยวและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ | ||
IAT36 6501 | วิทยาศาสตร์และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพภายหลังการจับสัตว์น้ำ (Post-harvest Science and Application of Biotechnology for Aquatic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT36 6502 | เคมีผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ (Chemistry of Aquatic Products) |
3(2-3-6) |
IAT36 7501 | เทคโนโลยีชีวภาพในการแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ (Biotechnology in Aquatic Products Processing) |
3(2-3-6) |
IAT36 7502 | การใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ (Utilization of By-products from Aquatic Products Industry) |
3(2-3-6) |
IAT36 7503 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำและนวัตกรรม (Aquatic Products Development and Innovation) |
3(2-3-6) |
IAT36 8501 | กฎหมายความปลอดภัยผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ (Law and Safety of Aquatic Products) |
3(3-0-6) |
IAT36 8502 | อาหารฟังก์ชั่นจากสัตว์น้ำ (Functional Foods from Aquatic Animals) |
3(3-0-6) |
2.3) กลุ่มวิชาเลือกอื่นๆ (Others) | ||
IAT36 6601 | โภชนศาสตร์และเทคโนโลยีการผลิตอาหารสัตว์น้ำ (Aquaculture Nutrition and Feed Technology) |
3(3-0-6) |
IAT36 7601 | ปัญหาพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา (Graduate Special Problem) |
3(0-9-9) |
IAT36 8601 | สหกิจบัณฑิตศึกษา (Graduate Co-operative Education) |
8(0-0-0) |
หรือรายวิชาใดๆ ที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3) วิทยานิพนธ์ (Thesis) | ||
---|---|---|
IAT36 8701 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (แผน 1.1) (M.Sc. Thesis (Scheme A1)) |
ไม่น้อยกว่า 45 |
IAT36 8702 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (แบบ 1.2) (M.Sc. Thesis (Scheme A2)) |
ไม่น้อยกว่า 20 |
Download มคอ. 2 หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการผลิตสัตว์น้ำ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาโท | ระยะเวลา | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย/ปี | ค่าบำรุงกิจกรรม/ปี | ค่าหน่วยกิต |
---|---|---|---|---|
หลักสูตรปริญญาโท จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต มีแผนการศึกษาให้เลือก ดังต่อไปนี้ | 2 ปี | 20,000 บาท/ปี | 400 บาท/ปี | 2,400 บาท/หน่วยกิต |
แบบ ก(1)
|
|
|||
แบบ ก(2)
|
||||
แบบ ข
|