หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (หลักสูตรนานาชาติ) | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy Program in Animal Technology and Innovation (International Program) | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์) | |
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy (Animal Technology and Innovation) | |
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) | ปร.ด. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | Ph.D. (Animal Technology and Innovation) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
|
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | สร้างนักวิจัยที่มีคุณธรรมและจริยธรรม ที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่/เทคโนโลยี/นวัตกรรม เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและสร้างโอกาสให้กับวงการปศุสัตว์ของประเทศ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล และเชื่อมโยงทุกระดับของสังคมที่มีพลวัตสูง | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | แสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริต การมีวินัย การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ |
PLO2 | อธิบายหลักการ ทฤษฎี เชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ความรู้ ของรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ | |
PLO3 | นำเสนอได้ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน เชิงวิชาการได้ | |
PLO4 | ออกแบบและสร้างผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์หรือที่เกี่ยวข้องได้ | |
PLO5 | วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลจากงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการผลิตสัตว์หรือที่เกี่ยวข้องได้ | |
PLO6 | ถ่ายทอดผลงานวิจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ หรือเผยแพร่ในระดับนานาชาติได้ |
หลักสูตร | |
สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาโท | |
แบบ 1 (แบบ 1.1) | เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต |
แบบ 2 (แบบ 2.1) | เป็นการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชาที่คิดค่าคะแนน มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต |
สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาตรี | |
แบบ 2 (แบบ 2.1) | เป็นการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชาที่คิดค่าคะแนน มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา | หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (จำนวนหน่วยกิต) | ||||
---|---|---|---|---|---|
แบบ 1.1 | แบบ 2.1 | แบบ 2.2 | |||
วิชาแกน | 63 | 63 | 124 | 124 | |
วิชาเลือก1 | ไม่น้อยกว่า 8 | - | ไม่น้อยกว่า 18 | ไม่น้อยกว่า 10 | |
วิทยานิพนธ์2 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 46 | ไม่น้อยกว่า 46 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 60 |
สหกิจบัณฑิตศึกษา | 8 | 8 | |||
รวม | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 90 | ไม่น้อยกว่า 90 |
1 การเรียนรายวิชา นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาของสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ หรือสาขาอื่นได้ โดยอยู่ในความเห็นชอบของสาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์
2 การทำการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์นั้น อาจกระทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นๆ ทั้งภายในและต่างประเทศซึ่งมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือเครือข่ายวิชาการที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นสมาชิก
3 เป็นวิชาในกลุ่มสัมมนา 6 หน่วยกิต ถ้าไม่เคยเรียนวิชาที่เทียบเท่ากับ IAT33 8101 การวางแผนการทดลองทางสัตวศาสตร์ มาก่อน ต้องลงทะเบียนเรียนวิชาทั้งสองนี้ เพิ่มอีก 4 หน่วยกิต รวมเป็นหน่วยกิตในหมวดวิชาแกน 10 หน่วยกิต และมีหน่วยกิตรวมทุกหมวดไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
4 เป็นวิชา IAT33 8101 การวางแผนการทดลองทางสัตวศาสตร์ และกลุ่มวิชาสัมมนา 8 หน่วยกิต
รายวิชาในหลักสูตร
1) วิชาแกน (Core Courses) | ||
---|---|---|
IAT33 8101 | การวางแผนการทดลองทางสัตวศาสตร์ (Experimental Designs in Animal Science) |
4(4-0-8) |
IAT33 9201 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 1 (Ph.D. Seminar I) |
1(1-0-9) |
IAT33 9202 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 2 (Ph.D. Seminar II) |
1(1-0-9) |
IAT33 9203 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 3 (Ph.D. Seminar III) |
1(1-0-9) |
IAT33 9204 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 4 (Ph.D. Seminar IV) |
1(1-0-9) |
IAT33 9205 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 5 (Ph.D. Seminar V) |
1(1-0-9) |
IAT33 9206 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 6 (Ph.D. Seminar VI) |
1(1-0-9) |
IAT33 9207 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 7 (Ph.D. Seminar VII) |
1(1-0-9) |
IAT33 9208 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 8 (Ph.D. Seminar VII) |
1(1-0-9) |
2) วิชาเลือก (Electives) | ||
---|---|---|
2.1) กลุ่มวิชาการวางแผนการทดลองและหัวข้อศึกษา (Experimental Designs and Topics) | ||
IAT33 8102 | หัวข้อศึกษาทางเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (Topics in Animal Production Technology) |
1(1-0-9) |
IAT33 8103 | การวิจัยทางสัตวศาสตร์ (Research Methodology in Animal Science) |
3(3-0-6) |
2.2) กลุ่มวิชาสัมมนา (Seminar) | ||
IAT33 9209 | สัมมนาระดับปริญญาเอก 9 (Ph.D. Seminar IX) |
1(1-0-9) |
2.3) กลุ่มวิชาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding) | ||
IAT33 6301 | พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการผลิตสัตว์น้ำ (Genetics and Biotechnology for Aquaculture) |
3(3-0-6) |
IAT33 6302 | เทคนิคเกี่ยวกับการถ่ายยีนและการวิเคราะห์การแสดงออกของยีนสำหรับการผลิตสัตว์ (Gene Transfer and Gene Expression Techniques for Animal Production) |
3(1-6-6) |
IAT33 8301 | พันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics) |
3(3-0-6) |
IAT33 8302 | อิทธิพลของยีนสำหรับเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Gene Actions for Animal Breeding Technology) |
3(3-0-6) |
IAT33 8303 | พันธุศาสตร์โมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Molecular Genetic Technology for Animal Breeding) |
3(3-0-6) |
IAT33 8304 | การปรับปรุงพันธุ์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและสร้างจุดเด่น (Breeding for Animal Production Efficiency and Uniqueness Improvement) |
3(3-0-6) |
2.4) กลุ่มวิชาสรีรวิทยาของสัตว์ (Animal Physiology) | ||
IAT33 6401 | การเก็บรักษาเซลล์สืบพันธุ์และคัพภะของสัตว์โดยวิธีการแช่แข็ง (Cryopreservation of Gametes and Embryos of Animals) |
3(2-3-6) |
IAT33 7401 | สรีรวิทยาการสืบพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงขั้นสูง (Advanced Reproductive Physiology of Domestic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 7402 | สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อมของสัตว์เลี้ยง (Environmental Physiology of Domestic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 7403 | วิทยาต่อมไร้ท่อของสัตว์เลี้ยง (Endocrinology of Domestic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 7404 | สรีรวิทยากล้ามเนื้อขั้นประยุกต์ (Applied Muscle Physiology) |
3(3-0-6) |
IAT33 7405 | ชีววิทยาการสืบพันธุ์สัตว์น้ำขั้นสูง (Advanced Reproductive Biology of Aquatic Animal) |
3(3-0-6) |
IAT33 7406 | เซลล์และโมเลกุลของระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์น้ำ (Cellular and Molecular Immunology of Aquatic Animals) |
3(2-3-6) |
IAT33 8401 | สรีรวิทยาการย่อยอาหาร (Digestive Physiology) |
3(3-0-6) |
IAT33 8402 | สรีรวิทยาการให้น้ำนม (Physiology of Lactation) |
3(3-0-6) |
IAT33 8403 | การเจริญเติบโตและพัฒนาการของสัตว์เลี้ยง (Growth and Development of Domestic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 8404 | สรีรวิทยาการสร้างผลผลิตของสัตว์เลี้ยง (Physiology of Domestic Animal Productivity) |
3(3-0-6) |
2.5) กลุ่มวิชาโภชนศาสตร์สัตว์ (Animal Nutrition) | ||
IAT33 6501 | โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้องขั้นสูง (Advanced Ruminant Nutrition) |
3(2-3-6) |
IAT33 6502 | โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยวขั้นสูง (Advanced Monogastric Animal Nutrition) |
3(2-3-6) |
IAT33 6503 | สารเสริมอาหารในการผลิตสัตว์ (Feed Additives in Animal Production) |
3(3-0-6) |
IAT33 6504 | การวิเคราะห์อาหารสัตว์ขั้นสูง (Advanced Feed Analysis) |
2(0-6-6) |
IAT33 7501 | นิเวศวิทยารูเมน (Rumen Ecology) |
3(2-3-6) |
IAT33 7502 | การจัดการอาหารและการให้อาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยวขั้นสูง (Advanced Feed and Feeding Management for Monogastric Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 8501 | นวัตกรรมการแปรรูปและถนอมอาหารสัตว์ (Innovations in animal feed processing and preservation) |
3(3-0-6) |
IAT33 8502 | การจัดการโภชนศาสตร์แบบแม่นยำและการคำนวณสูตรอาหารสัตว์ (Precision Nutrition Management and Feed Formulation) |
3(2-3-6) |
IAT33 8503 | การสร้างแบบจำลองของโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Modelling of Ruminant Nutrition) |
3(3-0-6) |
2.6) กลุ่มวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวด้านการผลิตสัตว์ (Postharvest Technologies for Animal Production) | ||
IAT33 7601 | เทคโนโลยีเนื้อสัตว์ขั้นสูง (Advanced Meat Technology) |
3(3-0-6) |
IAT33 7602 | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำ (Science and Post-harvest Technology for Aquatic Animals) |
3(3-0-6) |
IAT33 7603 | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไข่ขั้นสูง (Advanced in Egg Science and Technology) |
|
IAT33 7604 | เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์นมขั้นสูง (Advanced in Milk and Milk Products Technology) |
3(3-0-6) |
IAT33 8601 | การใช้ประโยชน์วัสดุเศษเหลือจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ (Utilization of by-products from the meat and fishery industry) |
3(3-0-6) |
IAT33 8602 | การวิเคราะห์เนื้อสัตว์ขั้นสูง (Advanced Meat Analysis) |
3(2-3-6) |
2.7) กลุ่มวิชาเลือกอื่นๆ (Others) | ||
IAT33 6701 | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านโรคในสัตว์น้ำ (Biotechnology for Aquatic Animal Diseases) |
3(3-0-6) |
IAT33 6702 | การปรับแปลงและการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Technology transformation and technology transfer) |
3(3-0-6) |
IAT33 6703 | การจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล (Data management and data analysis) |
3(3-0-6) |
IAT33 7701 | ปัญหาพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา (Graduate Special Problem) |
3(0-9-9) |
IAT33 8701 | สหกิจบัณฑิตศึกษา (Graduate Co-operative Education) |
8(0-0-0) |
หรือรายวิชาใดๆ ที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือรายวิชาใดๆ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรร่วมในลักษณะต่างๆ อาทิเช่น Joint degree, Double degree, Sandwich program ของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นๆ ทั้งภายในและต่างประเทศซึ่งมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี หรือเครือข่ายวิชาการที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นสมาชิก ทั้งนี้ โดยได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ฯ
3) วิทยานิพนธ์ (Thesis) | ||
---|---|---|
IAT33 9901 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก (แบบ 1.1) (Ph.D. Thesis (Scheme 1.1)) |
ไม่น้อยกว่า 60 |
IAT33 9902 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก (แบบ 2.1) (Ph.D. Thesis (Scheme 2.1)) |
ไม่น้อยกว่า 46 |
IAT33 9903 | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก (แบบ 2.2) (Ph.D. Thesis (Scheme 2.2)) |
ไม่น้อยกว่า 60 |
Download มคอ. 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาเอก | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย/ปี | ค่าบำรุงกิจกรรม/ปี | ค่าหน่วยกิต |
---|---|---|---|
หลักสูตรปริญญาเอก จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาโทและไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาตรี มีแบบการศึกษาให้เลือก ดังนี้ | 20,000 บาท/ปี | 400 บาท/ปี | 2,400 บาท/หน่วยกิต |
แบบ 1 การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ โดยไม่ต้องมีการศึกษารายวิชา แต่สาขาวิชาอาจกำหนดให้เรียนรายวิชา หรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นโดยไม่นับหน่วยกิตด้วยก็ได้ โดยต้องได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
|
|
||
แบบ 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม
|
|
||
|
|