หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | Bachelor of Science Program in Animal Technology and Innovation | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ไทย) | วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์) | |
ชื่อย่อ (ไทย) | วท.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์) | |
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) | Bachelor of Science (Animal Technology and Innovation) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | B.Sc. (Animal Technology and Innovation) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
|
ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | มุ่งผลิตบัณฑิตที่ มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ มีคุณสมบัติ “เก่งศาสตร์ เก่งสร้างสรรค์ เก่งสื่อสาร” | |
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร |
|
|
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | อธิบายหลักการทฤษฎี ในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องได้ |
PLO2 | สามารถฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะ ความชำนาญ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพ | |
PLO3 | สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และแสวงหาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ได้ | |
PLO4 | นำเสนอได้ทั้งการพูด การฟัง การอ่านและการเขียน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม | |
PLO5 | สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ได้ | |
PLO6 | แสดงออกซึ่งความมีวินัย ซื่อสัตย์ และตรงต่อเวลา | |
PLO7 | มีความเป็นผู้นำ กล้าแสดงออก และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ | |
PLO8 | สามารถออกแบบแนวคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ และสามารถถ่ายทอดความคิดตามหลักวิชาการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม |
โครงสร้างหลักสูตร
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า |
||
---|---|---|
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า | ||
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป | ||
1.2) กลุ่มวิชาภาษา | ||
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก | ||
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า | ||
2.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป | ||
2.2) กลุ่มวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
2.3) กลุ่มวิชาชีพบังคับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
2.4) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
2.5) กลุ่มวิชาประสบการณ์ภาคปฏิบัติ | ||
3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า |
รายวิชาในหลักสูตร
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า | ||
---|---|---|
1.1) กลุ่มวิชาแกนศึกษาทั่วไป | ||
การรู้สารสนเทศและสื่อดิจิทัล (Metaliteracy) |
||
สมรรถนะการเรียนรู้ (Learning Competencies) |
||
ความเป็นพลเมือง (Citizenship) |
||
1.2) กลุ่มวิชาภาษา | ||
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 (English for Communication 1) |
||
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 (English for Communication 2) |
||
ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการ (English for Academic Purposes) |
||
ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (English for Specific Purposes) |
||
ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน (English for Careers) |
||
1.3) กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปแบบเลือก ให้ผู้เรียนเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้ |
||
ศิลปวิจักษ์ (Art Appreciation) |
||
สุขภาพองค์รวม (Holistic Health) |
||
กฎหมายในชีวิตประจำวัน (Law in Daily Life) |
||
แนวอีสานใต้ (Ways of Lower Isan) |
||
การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Ways of Lower Isan) |
||
ชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) |
||
พันธกิจสัมพันธ์ชุมชนกับกลุ่มอาชีพ (Professional and Community Engagement) |
||
อาเซียนศึกษา (ASEAN Studies) |
||
ฮักเจ้าของ (Love Yourself) |
||
วาทกรรมเปลี่ยนโลกทัศน์ (Discourses and Worldview Change) |
||
วิถีชีวิตเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy Lifestyle) |
||
2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า | ||
2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ | ||
พันธุศาสตร์สัตว์ (Animal Genetics) |
||
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) |
||
ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry Laboratory) |
||
เคมีพื้นฐาน 1 (Fundamental Chemistry I) |
||
ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 1 (Fundamental Chemistry Laboratory I) |
||
เคมีพื้นฐาน 2 (Fundamental Chemistry II) |
||
ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน 2 (Fundamental Chemistry Laboratory II) |
||
หลักชีววิทยา 1 (Principles of Biology I) |
||
ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 1 (Principles of Biology Laboratory I) |
||
หลักชีววิทยา 2 (Principles of Biology Laboratory I) |
||
ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 2 (Principles of Biology Laboratory II) |
||
ฟิสิกส์ทั่วไป (General Physics) |
||
ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป (General Physics Laboratory) |
||
จุลชีววิทยา (Microbiology) |
||
ปฏิบัติการจุลชีววิทยา (Microbiology Laboratory) |
||
ชีวเคมี (Biochemistry) |
||
ปฏิบัติการชีวเคมี (Biochemistry Laboratory) |
||
2.2) กลุ่มวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
2.2.1) กลุ่มวิชาปฐมนิเทศเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร | ||
ปฐมนิเทศแรงบันดาลใจและนวัตกรรมการเกษตร (Introduction to Agricultural Inspiration and Innovation) |
||
ปฐมนิเทศทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (Orientation of Animal Technology and Innovation) |
||
2.2.2) กลุ่มวิชาการผลิตสัตว์ ธุรกิจฟาร์ม และการปฏิบัติงาน | ||
การปฏิบัติงานฟาร์ม1 (General Farm Practicum) |
||
เศรษฐศาสตร์เกษตรและการจัดการธุรกิจฟาร์ม (Agricultural Economics and Farm Business Management) |
||
การผลิตสัตว์น้ำและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Aquaculture and Supply Chain Management) |
||
การผลิตสัตว์ปีกและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Poultry Production and Supply Chain Management) |
||
การผลิตสุกรและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Swine Production and Supply Chain Management) |
||
การผลิตโคและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน2 (Cattle Production and Supply Chain Management) |
||
ระบบปศุสัตว์แม่นยำเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Precision Livestock Farming Systems for Sustainable Development) |
||
เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวทางด้านการผลิตสัตว์ (Post-Harvest Technology in Animal Production) |
||
หมายเหตุ: รายวิชาทับซ้อน 1 2 1เลือกเรียนรายวิชาทับซ้อน 3 รายวิชา |
||
การปฏิบัติงานฟาร์ม: ฟาร์มโค1 (General Farm Practicum: Cattle) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์ม: ฟาร์มสุกร1 (General Farm Practicum: Swine) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์ม: ฟาร์มสัตว์ปีก1 (General Farm Practicum: Poultry) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์ม: ฟาร์มสัตว์น้ำ1 (General Farm Practicum: Aquaculture) |
||
หลักการผลิตโค2 (Principle of Cattle Production) |
||
การจัดการฟาร์มการผลิตโคและธุรกิจฟาร์มตลอดโซ่อุปทาน2 (Cattle Farm Management and Business along Supply Chain) |
||
2.2.3) กลุ่มวิชากายวิภาค สรีรวิทยาและสุขศาสตร์สัตว์ | ||
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของสัตว์ 1 (Animal Anatomy and Physiology I) |
||
ปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของสัตว์ 1 (Animal Anatomy and Physiology Laboratory I) |
||
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของสัตว์ 2 (Animal Anatomy and Physiology II) |
||
ปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของสัตว์ 2 (Animal Anatomy and Physiology Laboratory II) |
||
สุขศาสตร์ และการป้องกันโรคสัตว์ (Animal Hygiene and Disease Prevention) |
||
2.2.4) กลุ่มวิชาโภชนศาสตร์สัตว์ | ||
โภชนศาสตร์สัตว์กระเพาะเดี่ยว (Monogastric Animal Nutrition) |
||
ปฏิบัติการโภชนศาสตร์สัตว์ 1 (Animal Nutrition Laboratory I) |
||
โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง3 (Ruminant Nutrition) |
||
ปฏิบัติการโภชนศาสตร์สัตว์ 2 (Animal Nutrition Laboratory II) |
||
หมายเหตุ: รายวิชาทับซ้อน 3 | ||
หลักโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง3 (Principle of Ruminant Nutrition) |
||
เทคโนโลยีและนวัตกรรมโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง3 (Technology and Innovation of Ruminant Nutrition) |
||
2.2.5) กลุ่มวิชาการวางแผนการทดลองลอง และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ | ||
สถิติและการออกแบบการทดลองทางสัตว์ (Statistic and Experimental Design for Animal) |
||
เทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding Laboratory) |
||
ปฏิบัติการเทคโนโลยีการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding Laboratory) |
||
2.2.6) กลุ่มวิชาการสื่อสารด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
การเขียนเชิงวิชาการ (Academic Writing) |
||
การนำเสนอทางสัตวศาสตร์ (Presentation in Animal Science) |
||
สัมมนา (Seminar) |
||
2.3) กลุ่มวิชาชีพบังคับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ | ||
หลักการธุรกิจปศุสัตว์ (Livestock Business Concept) |
||
การศึกษาเชิงบูรณาการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ 1 (Integrative Studies in Animal Technology and Innovation I) |
||
การศึกษาเชิงบูรณาการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ 2 (Integrative Studies in Animal Technology and Innovation II) |
||
โครงงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ (Animal Technology and Innovation Project) |
||
2.4) กลุ่มวิชาเลือกวิชาชีพเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางสัตว์ ให้ผู้เรียนเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้ |
||
ปัญหาพิเศษ (Special Problem) |
||
การผลิตสัตว์น้ำประยุกต์ (Applied Aquatic Animal Production) |
||
เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตสัตว์ (Biotechnology in Animal Production) |
||
การจัดการโรงฟักไข่ (Hatchery Management) |
||
สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อมของสัตว์น้ำ (Environmental Physiology of Aquatic Animals) |
||
การวิเคราะห์และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำหรับสัตวบาล (Analysis and utilization of data for Animal Husbandry) |
||
เทคโนโลยีการเพิ่มมูลค่าเนื้อสัตว์ (Value-Adding Technology in Meat) |
||
2.5) กลุ่มวิชาประสบการณ์ภาคปฏิบัติ | ||
เตรียมสหกิจศึกษาบูรณาการกับการทำงาน (Pre-Cooperative and Work-Integrated Education) |
||
สหกิจศึกษาบูรณาการกับการทำงาน 1 (Cooperative and Work-Integrated Education I) |
||
สหกิจศึกษาบูรณาการกับการทำงาน 2 (Cooperative and Work-Integrated Education II) |
||
สหกิจศึกษาบูรณาการกับการทำงาน 3 (Cooperative and Work-Integrated Education III) |
||
หรือลงเรียนรายวิชาทดแทนรายวิชาสหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่า โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา |
||
การปฏิบัติงานฟาร์มโค (Farm Practicum : Cattle) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์มสุกร (Farm Practicum : Swine) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์มสัตว์ปีก (Farm Practicum : Poultry) |
||
การปฏิบัติงานฟาร์มสัตว์น้ำ (Farm Practicum : Aquaculture) |
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
รายการ | จำนวน (บาท) | หมายเหตุ | |
1. | เงินประกันทั่วไป (เรียกเก็บครั้งเดียว และคืนให้เมื่อออกจากมหาวิทยาลัย) | 3,500 | |
2. | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย หมายถึง ค่าขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา, ค่าบำรุงการศึกษา, ค่าบริการสุขภาพ, ค่าบำรุงห้องสมุด, ค่าบำรุงกีฬา ฯลฯ | 10,000 | ต่อปี |
3. | ค่าบำรุงกิจกรรมนักศึกษา | 400 | ต่อปี |
4. | ค่าธรรมเนียมลงทะเบียนวิชาเรียน หน่วยกิตละ 800 บาท | 800 | ต่อ 1 หน่วยกิต |