หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | Master of Science Program in Biotechnology (International Program) | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ) | |
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) | Master of Science (Biotechnology) | |
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) | วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | M.Sc. (Biotechnology) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา | ||
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะในการวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพในระดับสากลเพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจ | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | รู้จักนิยามของเทคโนโลยีชีวภาพและนวัตกรรมทางชีวภาพเพื่อโอกาสในการนำไปสู่การเป็นผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง |
PLO2 | เข้าใจหลักการ และความคิดรวบยอดขององค์ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพด้านต่างๆ ที่สำคัญ และเทคโนโลยีพื้นฐานที่จำเป็น สำหรับการสร้างนวัตกรรมทางชีวภาพ | |
PLO3 | มีบูรณภาพทางการวิจัยที่เหมาะสม ซึ่งรวมถึงจริยธรรมในการวิจัย ความสามารถในการทำงานเป็นทีม ความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | |
PLO4 | สามารถทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ จัดทำรายงานภายใต้คำแนะนำ และใช้เทคนิคต่างๆ ด้านเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกรอบงานวิจัยที่สนใจ | |
PLO5 | สามารถระบุปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม และเห็นโอกาส ที่จะใช้ความคิดสร้างสรรค์เชิง เทคโนโลยีชีวภาพมาแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับ เศรษฐกิจชีวภาพ หมุนเวียน และสีเขียว นำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน | |
PLO6 | สามารถวิจารณ์งานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์จากแหล่งต่าง ๆ ได้ และสามารถอธิบายผลการทดลองรวมทั้งเนื้อหาสรุปที่ได้จากวิทยานิพนธ์ของตนเอง โดยอยู่ภายใต้กรอบบริบทของงานวิจัยนั้น ๆ ภายใต้คำแนะนำ | |
PLO7 | มีส่วนร่วมในโครงการวิจัยร่วมที่มุ่งเป้าเพื่อใช้แก้ปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือ มีส่วนร่วมในการสร้างนวัตกรรมทางชีวภาพที่สามารถใช้แก้ปัญหาเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ที่สนใจได้ ด้วยความคิด วิเคราะห์ อย่างสร้างสรรค์ | |
PLO8 | สามารถวิเคราะห์และเผยแพร่งานวิจัยได้ด้วยปากเปล่าหรือโปสเตอร์ในงานประชุมทางด้านวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้อง เพื่อก่อให้เกิดการรวบรวมองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรม | |
PLO9 | เข้าใจความสำคัญของ กฎหมาย กฎระเบียบ มาตรฐาน และบริบท ทางเศรษฐกิจ ที่จำเป็น และสำคัญในการสร้างชีวนวัตกรรมให้ใช้ได้จริง |
หลักสูตร | ||
จำนวนหน่วยกิต | แผน ก แบบ ก 1 | เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว ซึ่งมี หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต |
แผน ก แบบ ก 2 | เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา โดยมีหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต ประกอบด้วย วิชาบังคับ 7 หน่วยกิต วิชาเลือก (รวมถึง สหกิจศึกษา) ไม่น้อยกว่า 8 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา | หลักสูตร พ.ศ. 2565 (จำนวนหน่วยกิต) | |
---|---|---|
แผน ก | แบบ ก 1 | แบบ ก 2 |
หมวดวิชา | - | ไม่น้อยกว่า 15 |
หมวดวิชาบังคับ | - | 7 |
หมวดวิชาเลือก | - | ไม่น้อยกว่า 8* |
วิทยานิพนธ์ | ไม่น้อยกว่า 45 | ไม่น้อยกว่า 15* |
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 45 | ไม่น้อยกว่า 45 |
* นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในหมวดวิชาเลือก หรือ วิทยานิพนธ์ โดยให้ได้หน่วยกิตรวม ตลอดหลักสูตรตามที่กำหนด (ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต)
รายวิชาในหลักสูตร
1) วิชาบังคับ (Compulsory Courses) | 7 หน่วยกิต | |
---|---|---|
IAT34 5111 | เทคโนโลยีชีวภาพแบบองค์รวม (Holistic Approach to Biotechnology) |
4(4-0-8) |
IAT34 5881 | สัมมนา 1 (Seminar I) |
1(1-0-6) |
IAT34 5882 | สัมมนา 2 (Seminar II) |
1(1-0-6) |
IAT34 5883 | สัมมนา 3 (Seminar III) |
1(1-0-6) |
2) วิชาบังคับ (Elective Courses) | ||
กลุ่มวิชาเลือก 1 เทคโนโลยีชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular Biotechnology) | ||
IAT34 5221 | ชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular Biology) |
4(4-0-8) |
IAT34 5222 | เทคนิคทางด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล (Molecular Biology echniqueTs) |
2(0-6-6) |
IAT34 5223 | การสื่อสารระดับอณูและเซลล์ (Molecular and Cellular Communication) |
4(4-0-8) |
IAT34 5224 | เทคโนโลยีชีวภาพทางด้านโภชนเภสัชภัณฑ์และเภสัชศาสตร์ (Nutraceutical and Pharmaceutical Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5225 | เทคโนโลยีชีวภาพของระบบภูมิคุ้มกัน (Immunobiotechnology) |
4(4-0-8) |
IAT34 5226 | หัวข้อวิจัยในชีววิทยาระดับโมเลกุล (Selected Research in Molecular Biology) |
1(0-3-6) |
IAT34 5227 | ความสัมพันธ์ระหว่างพืชและจุลินทรีย์ในระดับโมเลกุล (Molecular Biology of Plants and Microbes Interaction) |
3(3-0-6) |
IAT34 5228 | เทคโนโลยีโอมิกส์และชีววิทยาระบบ (Omics Technology and Systems Biology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5229 | ปฏิบัติการเทคโนโลยีโอมิกส์และชีววิทยาระบบ (Omics Technology and Systems Biology Laboratory) |
1(0-3-6) |
IAT34 5230> | การบังคับวิถีกระบวนการสร้างและสลายขั้นสูง (Advanced Metabolic Control) |
4(4-0-12) |
IAT34 5231 | วิชาเฉพาะขั้นสูงทางด้านอณูเทคโนโลยีชีวภาพ (Advance Topics in Molecular Biotechnology) |
4(4-0-8) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
กลุ่มวิชาเลือก 2 เทคโนโลยีตัวอ่อนและเซลล์ต้นกำเนิด (Embryo and Stemcells Technology) | ||
IAT34 5331 | เทคโนโลยีชีวภาพของสัตว์ (Animal Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5332 | เทคโนโลยีโคลนนิ่งสัตว์ (Animal Cloning Technology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5333 | เทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิด (Stem Cell Technology) |
4(4-0-8) |
IAT34 5334 | การวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพการซ่อมแซมอวัยวะเสื่อมสภาพของสัตว์ (Animal Regenerative Biotechnology Research) |
3(0-9-9) |
IAT34 5335 | ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิด (Stem Cell Biology) |
3(2-3-6) |
IAT34 5336 | การผลิตตัวอ่อนในหลอดแก้วและการย้ายฝากตัวอ่อนในปศุสัตว์ (In vitro Embryo Production and Embryo Transfer in Farm Animals) |
4(3-3-9) |
IAT34 5337 | การประยุกต์ใช้เซลล์ต้นกำเนิดจากสัตว์ (Applied Animal Stem Cells) |
4(3-3-9) |
IAT34 5338 | เทคนิคเฉพาะทางในการดำเนินงานวิจัยทางด้านการโคลนนิ่งสัตว์ (Selected Research in Animal Cloning Technology) |
1(0-3-6) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
กลุ่มวิชาเลือก 3 เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรและจุลินทรีย์ (Agricultural and Microbial Biotechnology) | ||
IAT34 5441 | จุลชีววิทยาประยุกต์ (Applied Microbiology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5442 | เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร (Agricultural Biotechnology) |
4(4-0-8) |
IAT34 5443 | ปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร (Agricultural Biotechnology Laboratory) |
2(0-6-6) |
IAT34 5444 | เทคโนโลยีชีวภาพของพืช (Plant Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5445 | ปฏิบัติการเทคโนโลยีทางการเกษตรและจุลินทรีย์ (Selected Research in Agricultural and Microbial Technology) |
1(0-3-6) |
IAT34 5446 | เทคโนโลยีชีวภาพทางอณูชีววิทยาของแบคทีเรียเจริญในสภาวะไร้ออกซิเจน (Molecular Biotechnology of Anaerobic Bacteria) |
4(4-0-12) |
IAT34 5447 | เทคโนโลยีชีวภาพเชิงเอนไซม์ (Enzyme Biotechnology) |
4(4-0-8) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
กลุ่มวิชาเลือก 4 เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม และวิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ (Industrial Biotechnology and Bio-engineering) | ||
IAT34 5551 | วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปทางชีวภาพ (Bioprocess Engineering) |
4(4-0-8) |
IAT34 5552 | วิศวกรรมกระบวนการแปรรูปทางชีวภาพขั้นสูง (Advanced Bioprocess Engineering) |
4(4-0-8) |
IAT34 5553 | ปฏิบัติการวิศวกรรมกระบวนการแปรรูปทางชีวภาพ (Bioprocess Engineering Laboratory) |
2(0-6-12) |
IAT34 5554 | เทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology) |
3(1-6-8) |
IAT34 5555 | พลังงานชีวมวลในเทคโนโลยีชีวภาพ (Bio-energy in Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5556 | วิศวกรรมกระบวนการสร้างและสลาย และชีววิทยาสังเคราะห์ (Metabolic Engineering and Synthetic Biology) |
4(3-3-12) |
IAT34 5557 | เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ (Bioproduct Recovery Technology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5558 | ปฏิบัติการเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ (Bioproduct Recovery Technology Laboratory) |
2(0-6-12) |
IAT34 5559 | ปฏิบัติการเฉพาะทางเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรมและวิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ (Selected Research in Industrial Biotechnology and Bioprocess Engineering) |
2(0-6-12) |
IAT34 5560 | การออกแบบและการควบคุมถังปฏิกรณ์ชีวภาพ (Bioreactor Design and Operations) |
3(3-0-6) |
IAT34 5561 | เทคโนโลยีชีวภาพสีขาวเพื่อการผลิตเชื้อเพลิงและสารเคมีชีวภาพ (White Biotechnology for Biofuel and Biochemical Productions) |
4(4-0-12) |
IAT34 5562 | กระบวนการแยกผ่านแผ่นเยื่อ (Membrane Separation Processes) |
3(3-0-6) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
กลุ่มวิชาเลือก 5 การสร้างผู้ประกอบการธุรกิจและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Entrepreneurship and Innovation in Biotechnology) | ||
IAT34 5661 | ความเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และทรัพย์สินทางปัญญา (Entrepreneurship Innovation and intellectual property in Biotechnology) |
3(3-0-6) |
IAT34 5662 | ความปลอดภัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology safety) |
4(4-0-8) |
IAT34 5663 | ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) |
3(2-3-4) |
IAT34 5664 | ศิลปะการเล่าเรื่อง (Art of storytelling) |
3(2-3-4) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
กลุ่มวิชาเลือก 6 รายวิชาเลือกอื่น ๆ (Others) | ||
IAT34 5771 | สหกิจบัณฑิตศึกษา (Graduate Co-operative Education) |
8(0-0-0) |
IAT34 5772 | เครื่องมือวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnological Instrumentation) |
4(3-3-9) |
IAT34 5773 | เทคนิคเฉพาะทางในการดำเนินงานวิจัย (Selected Research Techniques) |
3(0-9-9) |
IAT34 5774 | ประเด็นที่กำลังเป็นที่น่าสนใจทางเทคโนโลยีชีวภาพ (Current Issues in Biotechnology) |
1(1-0-12) |
xxxxx xxxx | รายวิชาอื่น ๆ โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา (Other Subjects by Concent of the School) |
x(x-x-x) |
วิทยานิพนธ์ | ||
IAT34 5901 | วิทยานิพนธ์ (สำหรับ วท.ม. แผน ก แบบ ก1) (Thesis (for M.Sc. Plan A Scheme A1)) |
ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต |
IAT34 5902 | วิทยานิพนธ์ (สำหรับ วท.ม. แผน ก แบบ ก2) (Thesis (for M.Sc. Plan A Scheme A2)) |
ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต |
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาโท | ระยะเวลา | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย/ปี | ค่าบำรุงกิจกรรม/ปี | ค่าหน่วยกิต |
---|---|---|---|---|
หลักสูตรปริญญาโท จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต มีแผนการศึกษาให้เลือก ดังต่อไปนี้ | 2 ปี | 20,000 บาท/ปี | 400 บาท/ปี | 2,400 บาท/หน่วยกิต |
แบบ ก(1)
|
|
|||
แบบ ก(2)
|
||||
แบบ ข
|