หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
ชื่อหลักสูตร | ||
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) | หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) | |
ชื่อหลักสูตร (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy Program in Crop Science (International Program) | |
ชื่อปริญญา และสาขาวิชา | ||
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พืชศาสตร์) | |
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) | Doctor of Philosophy (Crop Science) | |
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) | ปร.ด. (พืชศาสตร์) | |
ชื่อย่อ (อังกฤษ) | Ph.D. (Crop Science) | |
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา |
|
|
ปรัชญา และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | ||
ปรัชญาของหลักสูตร | มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะในการวิจัยด้านพืชศาสตร์ในระดับสากล | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) | PLO1 | อธิบายหลักการ และทฤษฎี ทางด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง |
PLO2 | ประเมิน คิดวิเคราะห์ และเลือกใช้องค์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านพืชศาสตร์ได้อย่างมีระบบถูกต้องและเหมาะสม | |
PLO3 | คิดค้น สร้างสรรค์เชิงออกแบบงานวิจัย และการจัดการงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงด้านพืชศาสตร์ | |
SPLO3.1 | คิดค้น สร้างสรรค์เชิงออกแบบงานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูงด้านพืชศาสตร์ | |
SPLO3.2 | จัดการงานวิจัยและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้านพืชศาสตร์ | |
PLO4 | ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและสื่อสารองค์ความรู้ทางด้านพืชศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ | |
PLO5 | ทางานร่วมกับคนอื่นได้ มีความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม | |
SPLO5.1 | ทางานร่วมกับคนอื่นได้ มีความเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม | |
SPLO5.2 | มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ | |
เว็บไซต์สาขาวิชา | https://iat.sut.ac.th/croptech |
หลักสูตร | ||
แผน 1 เน้นวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ | แผน 1.1 | สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต โดยต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา IAT32 7801 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 2IAT3 7802 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2 IAT32 7803 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3 และ IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 โดยไม่คิดหน่วยกิต |
แผน 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิจัยคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและศึกษารายวิชา | แผน 2.1 | สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และต้องเรียนวิชาบังคับ จำนวน 4 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต และวิชาวิทยานิพนธ์จานวนไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต |
แผน 2.2 | สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี (เกียรตินิยม) เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา ต้องเรียนวิชาบังคับ จานวน 6 หน่วยกิต วิชาเลือกไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิตและวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 92 หน่วยกิต |
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา | หลักสูตร พ.ศ. 2565 (จำนวนหน่วยกิต) | ||
---|---|---|---|
แผน 1.1 | แผน 2.1 (ผู้เข้าศึกษาสำเร็จปริญญาโท) |
แผน 2.2 (ผู้เข้าศึกษาสำเร็จปริญญาตรี) |
|
1) หมวดวิชา | |||
หมวดวิชาบังคับ | - | ไม่น้อยกว่า 4 | ไม่น้อยกว่า 6 |
หมวดวิชาเลือก | - | ไม่น้อยกว่า 11 | ไม่น้อยกว่า 26 |
2) วิทยานิพนธ์ | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 45 | ไม่น้อยกว่า 60 |
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 60 | ไม่น้อยกว่า 92 |
หมายเหตุ:
- แผนการศึกษา 2.1 เรียนวิชาสัมมนา 4 รายวิชา รวม 4 หน่วยกิต ได้แก่ รายวิชา IAT32 7801 - IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 - 4 และแผนการศึกษา แผน 2.2 เรียนสัมมนา 6 รายวิชา รวม 6 หน่วยกิต ได้แก่ รายวิชา IAT32 6801 - IAT32 6802 สัมมนามหาบัณฑิต 1 - 2 และ IAT32 7801 - IAT32 7804 สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 - 4
- วิชาเลือกในระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาวิชาฯ กลุ่มวิชาเลือก ข้อ 2.1 - 2.7 ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต สำหรับแผนการศึกษา แผน 2.1 และไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต สำหรับแผนการศึกษาแผน 2.2 หรือของต่างสาขาวิชา/สถาบันการศึกษา โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา
- การทำวิทยานิพนธ์อาจจะทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีหรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นทั้งภายในและต่างประเทศ
รายวิชาในหลักสูตร
แผน 1.1 เน้นวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ | หน่วยกิต | |
---|---|---|
IAT32 7901 | วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 1.1 (Ph. D. Thesis Scheme 1.1) |
60 |
แผน 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิจัยคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและศึกษารายวิชา | หน่วยกิต | |
---|---|---|
1) วิชาบังคับ (Compulsory Courses) | หน่วยกิต | |
IAT32 6801 | สัมมนามหาบัณฑิต 1 (M.Sc. Seminar I) |
1(1-0-2) |
IAT32 6802 | สัมมนามหาบัณฑิต 2 (M.Sc. Seminar II) |
1(1-0-2) |
IAT32 7801 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 1 (Ph.D. Seminar I) |
1(1-0-2) |
IAT32 7802 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 2 (Ph.D. Seminar II) |
1(1-0-2) |
IAT32 7803 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 3 (Ph.D. Seminar III) |
1(1-0-2) |
IAT32 7804 | สัมมนาดุษฎีบัณฑิต 4 (Ph.D. Seminar IV) |
1(1-0-2) |
2) วิชาเลือก (Elective Courses) | หน่วยกิต | |
2.1) กลุ่มวิชาหลักและวิชาปรับพื้นฐานความรู้ทางพืชศาสตร์ (Core Courses and Foundation Courses in Crop Science) | ||
IAT32 5601 | การวางแผนและวิเคราะห์ผลการทดลอง (Experimental Designs and Analysis) |
3(2-3-4) |
IAT32 5602 | ระเบียบวิธีวิจัยทางด้านพืชศาสตร์ (Research Methodology in Crop Science) |
2(1-3-2) |
IAT32 5603 | พืชศาสตร์ระดับสูง (Advanced Crop Science) |
3(3-0-6) |
IAT32 5604 | การเตรียมต้นฉบับบทความสำหรับตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Manuscript Preparation) |
2(1-3-2) |
IAT32 5605 | พื้นฐานพืชศาสตร์ 1 (Fundamental Crop Sciences I) |
3(3-0-6) |
IAT32 5606 | พื้นฐานพืชศาสตร์ 2 (Fundamental Crop Sciences II) |
3(3-0-6) |
IAT32 5607 | ปฏิบัติการพืชศาสตร์เบื้องต้น (Fundamental Crop Sciences Laboratory) |
2(1-3-6) |
IAT32 5608 | เทคโนโลยีด้านพืชสำหรับทุกคน (Crop Technology for All) |
3(2-3-4) |
IAT32 5609 | เทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ (Modern Technology in Crop Production) |
2(2-0-4) |
IAT32 5610 | เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยด้านผลิตพืช (Crop Production Instruments) |
2(1-3-4) |
2.2) กลุ่มวิชาปรับปรุงพันธ์พืช (Plant Breeding) | ||
IAT32 5101 | เทคนิคในการปรับปรุงพันธุ์พืชสมัยใหม่ (Modern Plant Breeding Techniques) |
3(2-3-4) |
IAT32 5102 | หัวข้อคัดสรรในการปรับปรุงพันธุ์พืช 1 (Selected Topics in Plant Breeding I) |
2(2-0-4) |
IAT32 6101 | การปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง 1 (Advanced Plant Breeding I) |
3(3-0-6) |
IAT32 6102 | การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering for Crop Improvement) |
3(3-0-6) |
IAT32 6103 | การปรับปรุงพันธุ์พืชเชิงโมเลกุล (Molecular Plant Breeding) |
3(3-0-6) |
IAT32 6104 | การปรับปรุงพันธุ์เพื่อต้านทานศัตรูพืช (Breeding for Plant Pest Resistance) |
2(2-0-4) |
IAT32 6105 | การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อทนทานต่อสภาวะเครียดจากสิ่งไม่มีชีวิต (Plant Breeding for Abiotic Stress Tolerance) |
2(2-0-4) |
IAT32 6106 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืช (Individual Study in Plant Breeding) |
1(1-0-2) |
IAT32 6107 | หัวข้อคัดสรรในการปรับปรุงพันธุ์พืช 2 (Selected Topics in Plant Breeding II) |
3(3-0-6) |
IAT32 6108 | พันธุศาสตร์ปริมาณในการปรับปรุงพันธุ์พืช (Quantitative Genetics for Plant Breeding) |
3(3-0-6) |
2.3) กลุ่มวิชาสรีรวิทยาพืช (Plant Physiology) | ||
IAT32 6201 | สรีรวิทยาพืชระดับสูง (Advanced Crop Physiology) |
3(2-3-4) |
IAT32 6202 | การตอบสนองและการปรับตัวของพืชภายใต้ภาวะวิกฤติ (Plant Responses and Adaptation to Stress) |
3(2-3-4) |
IAT32 6203 | สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืช (Physiology of Plant Growth and Development) |
3(3-0-6) |
IAT32 6204 | การศึกษาขั้นสูงของสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช (Advanced Plant Growth Regulators) |
3(3-0-6) |
IAT32 6205 | การพัฒนาของพืชเชิงโมเลกุล (Molecular Plant Development) |
2(2-0-4) |
IAT32 6206 | ปฏิบัติการประยุกต์ในสรีรวิทยาพืช (Applied Methods in Crop Physiology) |
2(0-6-0) |
IAT32 6207 | กระบวนการสร้างและสลายสารของพืช (Plant Metabolism) |
3(3-0-6) |
IAT32 6208 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับสรีรวิทยาพืช (Individual Study in Plant Physiology) |
1(1-0-2) |
IAT32 6209 | เทคโนโลยีโอมิกส์สาหรับการผลิตพืชสมัยใหม่ (Omics Technology for Modern Crop Production) |
3(3-0-6) |
IAT32 6210 | การประยุกต์ใช้แสงและคาร์บอนไดออกไซด์ในการผลิตพืช (Light and Carbon Dioxide Application in Crop Production) |
3(2-3-4) |
IAT32 6211 | ปฏิสัมพันธ์ของพืชและจุลินทรีย์มีประโยชน์ (Plant-beneficial Microbe Interaction) |
3(3-0-6) |
2.4) กลุ่มวิชาอารักขาพืช กีฏวิทยา (Entomology) และโรคพืชวิทยา (Plant Pathology) | ||
IAT32 5301 | โครงสร้างของแมลงและหน้าที่ (Insect Structure and Function) |
3(3-0-6) |
IAT32 5302 | นิเวศวิทยาของแมลง (Insect Ecology) |
3(2-3-4) |
IAT32 5303 | เทคนิคการปฏิบัติการด้านกีฏวิทยา (Entomological Technique Practicum) |
3(2-3-4) |
IAT32 6301 | พิษวิทยาของสารเคมีฆ่าแมลง (Insecticide Toxicology) |
3(3-0-6) |
IAT32 6302 | การจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Plant Pests Management) |
3(2-3-4) |
IAT32 6303 | การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีระดับสูง (Advanced Biological Control of Plant Pests) |
3(2-3-4) |
IAT32 6304 | ความต้านทานของพืชต่อศัตรูพืช (Plant Resistance to Plant Pests) |
3(3-0-6) |
IAT32 6305 | การนำโรคพืชของแมลง (Insect Transmission of Plant Diseases) |
3(3-0-6) |
IAT32 6306 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับกีฏวิทยา (Individual Study in Entomology) |
1(1-0-2) |
IAT32 6307 | การพัฒนาผลิตภัณฑ์สารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช (Product Development of Bio-Pesticides) |
3(2-3-4) |
IAT32 5304 | จุลชีพสาเหตุของโรคพืช (Plant Pathogens) |
3(2-3-4) |
IAT32 5305 | เทคนิคทางโรคพืชวิทยา (Plant Pathological Techniques) |
3(2-3-4) |
IAT32 5306 | การวินิจฉัยสุขภาพพืชและโรคพืช (Plant Health and Plant Disease Diagnosis) |
3(2-3-4) |
IAT32 6308 | โรควิทยาเมล็ดพันธุ์ (Seed Pathology) |
3(2-3-4) |
IAT32 6309 | การจัดการสุขภาพพืชแบบบูรณาการ (Integrated Plant Health Management) |
3(2-3-4) |
IAT32 6310 | มาตรฐานสากลเพื่อการผลิตพืชปลอดภัย (International Standard for Safe Crop Production) |
3(2-3-4) |
IAT32 6311 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับโรคพืชสมัยใหม่ (Individual Study in Modern Plant Pathology) |
1(1-0-2) |
IAT32 6312 | เทคโนโลยีดิจิทัลด้านโรคพืช (Digital Technology in Plant Pathology) |
3(2-3-4) |
IAT32 6313 | แอคเทคสตาร์ทอัพด้านโรคพืช (Ag-tech Startup in Plant Pathology) |
3(2-3-4) |
IAT32 7301 | การจัดการแมลงหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Insect Pest Management) |
3(2-3-4) |
IAT32 7302 | การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีระดับสูง (Advanced Biological Control of Insect Pests) |
3(2-3-4) |
IAT32 7303 | ความต้านทานของพืชต่อแมลง (Plant Resistance to Insects) |
3(3-0-6) |
IAT32 7304 | โรคพืชวิทยาหลังเก็บเกี่ยว (Postharvest Pathology) |
3(2-3-4) |
IAT32 7305 | ความต้านทานของพืชต่อโรค (Plant Resistance to Diseases) |
3(3-0-6) |
IAT32 7306 | การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธีระดับสูง (Advanced Biological Control of Plant Diseases) |
3(2-3-4) |
2.5) กลุ่มวิชาปฐพีวิทยา (Soil Science) | ||
IAT32 5401 | ธาตุอาหารพืช (Mineral Plant Nutrients) |
3(2-3-4) |
IAT32 5402 | การวิเคราะห์ดินและพืช (Soil and Plant Analysis) |
3(2-3-4) |
IAT32 5403 | เทคโนโลยีปุ๋ย (Fertilizer Technology) |
3(3-0-6) |
IAT32 6401 | จุลชีววิทยาของดิน (Soil Microbiology) |
3(2-3-4) |
IAT32 6402 | เคมีของดิน (Soil Chemistry) |
3(3-0-6) |
IAT32 6403 | ฟิสิกส์ของดิน (Soil Physics) |
3(3-0-6) |
IAT32 6404 | ความสัมพันธ์ระหว่างดินกับพืช (Soil and Plant Relationships) |
3(3-0-6) |
IAT32 6405 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับปฐพีวิทยา (Individual Study in Soil Science) |
1(1-0-2) |
2.6) กลุ่มวิชาวิทยาการพืชหลังเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology) และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (Seed Technology) | ||
IAT32 5501 | วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลพืชสวน (Postharvest Technology of Horticultural Crops) |
3(2-3-4) |
IAT32 5502 | วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้ (Postharvest Technology of Flowers) |
3(2-3-4) |
IAT32 5503 | วิทยาการหลังเก็บเกี่ยวของพืชไร่ (Postharvest Technology of Field Crops) |
3(3-0-6) |
IAT32 5504 | ระบบการจัดการกับผลิตผลสดหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Handling Systems of Fresh Produce) |
3(3-0-6) |
IAT32 6501 | เครื่องมือที่ใช้ในวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Technology Instrumentation) |
1(0-3-0) |
IAT32 6502 | สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการเปลี่ยนแปลงของผลิตผลสด (Postharvest Physiology and Changes of Fresh Produce) |
3(3-0-6) |
IAT32 6503 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับวิทยาการหลังเก็บเกี่ยว (Individual Study in Postharvest Technology) |
1(1-0-2) |
IAT32 6504 | บรรจุภัณฑ์สาหรับผลิตผลทางการเกษตร (Packaging for Agricultural Products) |
3(3-0-6) |
IAT32 6505 | ผลไม้และผักตัดแต่งพร้อมบริโภค (Minimally Processed Fruits and Vegetables) |
3(2-1-3) |
IAT32 5505 | เทคนิคผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพสูง (High Quality Seed Production) |
3(3-0-6) |
IAT32 6506 | สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ (Seed Physiology) |
3(3-0-6) |
IAT32 6507 | ธุรกิจเมล็ดพันธุ์ระดับสูง (Advanced Seed Business) |
3(3-0-6) |
IAT32 6508 | การศึกษาเฉพาะด้านเกี่ยวกับเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์สมัยใหม่ (Individual Study in Modern Seed Technology) |
1(1-0-2) |
2.7) กลุ่มวิชาเกี่ยวเนื่องทางพืชศาสตร์ (Crop Science Relating Subjects) | ||
IAT32 6601 | แนวโน้มความยั่งยืนในนวัตกรรมด้านพืช (Sustainability Trends in the Crop Innovation) |
3(2-3-4) |
IAT32 6602 | แบบจำลองการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของพืช (Crop Simulation Modeling) |
3(2-3-4) |
IAT32 6603 | สถิติเพื่อการวิจัยระดับสูง (Advanced Statistics for Experimental Research) |
3(3-0-6) |
IAT32 6604 | ปริทัศน์กลยุทธ์ด้านพืชศาสตร์ (Perspectives in Crop Science Strategies) |
1(1-0-2) |
IAT32 6605 | โจทย์วิจัยด้านพืชศาสตร์ (Research Topic in Crop Science) |
1(1-0-2) |
IAT32 6606 | โรงงานผลิตพืชเชิงอุตสาหกรรมและการจัดการ (Plant Factory for Management of Culture Solution) |
3(2-3-4) |
IAT32 6607 | การผลิตพืชสมัยใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่า (Urban Indoor Cultivation of High Value Crops) |
3(2-3-4) |
IAT32 6608 | การคิดเชิงออกแบบสาหรับเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพืช (Design Thinking for Crop Technology and Innovation) |
3(2-3-4) |
IAT32 6609 | การประยุกต์ใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SAS สำหรับวิเคราะห์สถิติในงานวิจัยทางพืชศาสตร์ (Application of SAS Package for Statistical Analysis in Plant Science Research) |
2(1-3-4) |
IAT32 6610 | การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงในงานวิจัยทางพืชศาสตร์โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SAS (Advance Statistical Analysis in Plant Science Research by SAS Package) |
2(1-3-2) |
2.8) กลุ่มวิชาด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการด้านพืชสมัยใหม่ (Innovative and Entrepreneur in Modern Crop Production) | ||
IAT32 5701 | ความเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรม (Entrepreneurship and Innovation) |
2(2-0-4) |
IAT32 5702 | การวิเคราะห์โอกาสและความเป็นไปได้ทางธุรกิจ (Opportunity and Feasibility Analysis) |
2(2-0-4) |
IAT32 5703 | กลยุทธ์ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Strategies) |
2(2-0-4) |
IAT32 6701 | ผู้ประกอบการด้านพืชศาสตร์ (Agripreneur in Crop Science) |
3(0-9-0) |
IAT32 6702 | ระบบการปลูกพืชที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Sustainable Cropping Systems for Thailand) |
3(3-0-6) |
IAT32 6703 | การส่งเสริมเกษตรและการนำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ (Agricultural Extension and Technology Adoption) |
3(3-0-6) |
IAT32 6704 | การพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าสำหรับพืชมูลค่าสูง (Value Chain Development for High-Value Crops) |
3(3-0-6) |
IAT32 6705 | การออกแบบระบบสมาร์ทฟาร์มมิ่ง (Smart Farming Systems Design) |
3(3-0-6) |
IAT32 6706 | นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ด้านพืช (Crop Product Innovation) |
3(3-0-6) |
IAT32 6707 | นวัตกรรมและความยั่งยืนของอุตสาหกรรมและธุรกิจด้านพืช (Innovative and Sustainable Crop Industry and Business) |
3(3-0-6) |
IAT32 6708 | การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในการผลิตพืช (Climate Change Adaption in Crop Production) |
3(3-0-6) |
IAT32 6709 | การเร่งการเติบโตของสตาร์ทอัพด้านพืช (Crop-tech Startup Accelerator) |
3(3-0-6) |
IAT32 6710 | การลงทุนและการขยายการเติบโตของสตาร์ทอัพด้านพืช (Crop-tech Startup-Venture Capital and Scaling Growth) |
3(3-0-6) |
IAT32 6711 | โมเดลธุรกิจด้านพืชเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน (Crop-tech Business Models for Sustainable Change) |
3(3-0-6) |
IAT32 6712 | เกษตรข้ามวัฒนธรรม (Cross-Cultural Agriculture) |
3(0-9-0) |
IAT32 6713 | ฝึกการทำงานร่วมกันแบบสหวิทยาการ (Practicing Transdisciplinary Collaboration) |
3(0-9-9) |
2.9) กลุ่มวิชาปัญหาพิเศษ (Special Problem) และสหกิจศึกษา (Co-operative Education) | ||
IAT32 6803 | ปัญหาพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา (Graduate Special Problems) |
3(0-9-9) |
IAT32 6804 | สหกิจบัณฑิตศึกษา (Graduate Co-operative Education) |
8(0-0-0) |
2.10) รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษารายวิชาอื่น ๆ จากสำนักวิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัย ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา | ||
2.11) รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนโดยมหาวิทยาลัยร่วมที่มีการบันทึกข้อตกลงว่าด้วยหลักสูตรควบ 2 ปริญญา (Double Degree Program) ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา | ||
3) วิทยานิพนธ์ (Thesis) | ||
IAT32 7902 | วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 2.1 ไม่น้อยกว่า (Ph. D. Thesis Scheme 2.1) |
45 หน่วยกิต |
IAT32 7903 | วิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต แผน 2.2 ไม่น้อยกว่า (Ph. D. Thesis Scheme 2.2) |
60 หน่วยกิต |
แผนการศึกษา
Download มคอ. 2 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
ระดับปริญญาเอก | ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย/ปี | ค่าบำรุงกิจกรรม/ปี | ค่าหน่วยกิต |
---|---|---|---|
หลักสูตรปริญญาเอก จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาโทและไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต สำหรับผู้ที่ศึกษาต่อจากขั้นปริญญาตรี มีแบบการศึกษาให้เลือก ดังนี้ | 20,000 บาท/ปี | 400 บาท/ปี | 2,400 บาท/หน่วยกิต |
แบบ 1 การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ โดยไม่ต้องมีการศึกษารายวิชา แต่สาขาวิชาอาจกำหนดให้เรียนรายวิชา หรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นโดยไม่นับหน่วยกิตด้วยก็ได้ โดยต้องได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนด
|
|
||
แบบ 2 เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม
|
|
||
|
|